104 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*คำกริยา*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: คำกริยา, -คำกริยา-
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
pigeonhole
ในกรณีเป็นคำกริยา to pigeonhole หมายถึง "ด้อยค่า" คนใดคนหนึ่งหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง * ในคำแปลของ Longdo Dict ไม่ได้ให้ความหมายนี้ไว้
pigeonhole
(vt)ในกรณีเป็นคำกริยา to pigeonhole หมายถึง "ด้อยค่า" คนใดคนหนึ่งหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง * ในคำแปลของ Longdo Dict ไม่ได้ให้ความหมายนี้ไว้
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)verbExample:ในทางไวยากรณ์มีคำอยู่ 8 ประเภท คือ คำนาม คำสรรพนาม คำคุณศัพท์ คำกริยา คำกริยาวิเศษณ์ คำบุพบท คำสันธาน และ คำอุทานUnit:คำThai Definition:หมวดคำประเภทหนึ่ง ที่แสดงอาการกริยาต่างๆ
(n)adverbSyn.วิเศษณ์Example:คำกริยาวิเศษณ์ช่วยเน้นความหมายของคำกริยาวิเศษณ์ที่ปรากฏร่วมด้วยให้หนักแน่นขึ้นUnit:คำThai Definition:หมวดคำประเภทหนึ่ง ทำหน้าที่ขยายคำกริยา
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. คำวิเศษณ์ใช้ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ด้วยกันให้มีความแปลกออกไป.
น. ท่อนความที่มีคำกริยาวิเศษณ์ที่พ่วงบุรพบทเข้าขยายกริยา เช่น ม้าวิ่งไปข้างโน้น ความที่ขีดสัญประกาศนั้นเป็นกริยาวิเศษณ์วลี.
(-วิเสสะนานุปฺระโหฺยก) น. อนุประโยคที่ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ในสังกรประโยค, ประโยควิเศษณ์ ก็ว่า.
น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คำนาม คำกริยา คำบุรพบท
ว. ใช้ประกอบคำกริยาบางคำเพื่อเน้นความหมายว่า ตรงตั้งขึ้น เช่น ชี้เด่ ตั้งเด่.
ว. ใช้ประกอบคำกริยาบางคำเพื่อเน้นความหมายว่า ตรงขึ้นไป หรือเด่นเห็นได้ชัดเจน เช่น นั่งหัวโด่ ตั้งโด่.
ใช้ประกอบท้ายคำกริยา มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ความแวดล้อม คือ อาจ, สามารถ, เช่น เดินได้ เขียนได้
ใช้นำหน้าคำกริยาสามัญให้เป็นราชาศัพท์ เช่น ทรงทราบ ทรงยินดี ทรงขอบใจ ทรงยืน
ก. คำกริยาสำหรับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำกับคำเพื่อให้เห็นว่าคำหน้าและคำหลังมีภาวะ คือ ความมี ความเป็น เกี่ยวข้องกันอย่างไร เช่น ท่านเป็นเจ้า เขาเป็นนาย.
คำใช้ประกอบคำกริยาหรือประกอบคำวิเศษณ์ให้เป็นนามขึ้น เช่น ผู้กิน ผู้ดี.
คำช่วยกริยาในประโยคคำถามปฏิเสธหรือประโยคปฏิเสธ โดยละกริยานั้นไว้ให้เข้าใจเอาเอง เช่น ถามว่า จะไปหรือยัง ตอบว่า ยัง, ถ้าใช้นำหน้าคำกริยาเข้าคู่กับคำ อยู่ หมายความว่า กริยานั้นกำลังกระทำอยู่ เช่น เขายังกินอยู่ เขายังนอนอยู่, ถ้าใช้นำหน้าคำวิเศษณ์เข้าคู่กับคำ อยู่ หมายความว่า ยังอยู่ในภาวะนั้น เช่น ยังเด็กอยู่ ยังสาวอยู่ ยังเช้าอยู่, ใช้ประกอบคำกริยาเชิงปฏิเสธที่เริ่มหรือกำหนดไว้แล้ว แต่ยังไม่เสร็จสิ้นลงไป เช่น ป่านนี้ยังไม่มา ทั้ง ๆ ที่น่าจะมาแล้ว, ใช้เข้าคู่กับคำอื่นเพื่อเชื่อมประโยคหน้ากับประโยคหลังที่มีข้อความในลักษณะคล้ายคลึงกันให้เนื่องกัน เช่น นอกจากโง่แล้วยังหยิ่งอีกด้วย นอกจากสวยแล้วยังรวยอีกด้วย.
ใช้ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ หมายความว่า ที่ยังไม่ได้ทำ ยังมีอยู่ เช่น งานที่ยังไม่ได้ทำ ยังอีกเยอะเลย
(วิเสสะนะ-, วิเสด) น. คำจำพวกหนึ่งที่แต่งหรือขยายคำนาม คำกริยา หรือคำวิเศษณ์เพื่อบอกคุณภาพหรือปริมาณเป็นต้น เช่น คนดี นํ้ามาก ทำดี ดีมาก.
ใช้ประกอบกับคำกริยาบางคำมีความหมายว่า ร่วมด้วยกัน รวมกัน เช่น สมคิด สมรู้.
ว. ใช้ในความปฏิเสธ นิยมใช้คร่อมกับคำนามหรือคำกริยา เช่น หาใช่คนไม่ = ไม่ใช่คน หาพบไม่ = ไม่พบ.
(อาการะนาม) น. คำนามที่บอกกิริยาอาการหรือความปรากฏเป็นต่าง ๆ ของคน สัตว์ และสิ่งของ ซึ่งมาจากคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ที่มักมีคำ “การ” หรือ “ความ” นำหน้า เช่น การยืน การเดิน การอยู่ ความรัก ความดี ความสวย.
(-ขะหฺยาด) น. ชื่อคำกริยาประเภทหนึ่งในไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต ประกอบด้วย ธาตุ วิภัตติ กาล บท พจน์ บุรุษ วาจก ปัจจัย เพื่อเป็นเครื่องหมายบอกเนื้อความให้ชัดเจน เช่น กโรติ = ย่อมกระทำ ประกอบด้วย กรฺธาตุ ติวิภัตติ ปัจจุบันกาล ปรัสสบท เอกพจน์ ปฐมบุรุษ กัตตุวาจก โอปัจจัย.
คำสำหรับใช้เติมข้างหน้าคำนามหรือคำกริยาที่เป็นรูปคำบาลีหรือสันสกฤตให้มีความหมายแผกเพี้ยนไปจากเดิม หรือมีความหมายตรงข้ามกับความหมายเดิมเป็นต้น และถือเป็นคำเดียวกับคำนามหรือคำกริยานั้น เพราะตามปรกติจะไม่ใช้ตามลำพัง เช่น วัฒน์ = เจริญ อภิวัฒน์ = เจริญยิ่ง ปักษ์ = ฝ่าย ปฏิปักษ์ = ฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ศัตรู.
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เป็นทั้งคำกริยาและคำนามว่า สดับปกรณ์ (สะ-ดับ-ปะ-กอน) เป็นคำกริยา คือ บังสุกุล (ใช้แก่ศพเจ้านาย) ส่วนคำนามหมายถึง พิธีสวดมาติกาบังสุกุลเนื่องด้วยศพ ปัจจุับันใช้เฉพาะเจ้านาย คำในภาษาบาลีเขียน สตฺตปฺปกรณ ส่วนภาษาสันสกฤตเขียน สปฺตปฺรกรณ หมายถึงพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์[ศัพท์พระราชพิธี]
คำกริยาวิเศษณ์[TU Subject Heading]
คำกริยา[TU Subject Heading]
คำกริยาที่เป็นวลี[TU Subject Heading]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ฉันจ้างรุ่นน้อง ไปขอให้ เขาสอนคำกริยาShowmance (2009)
คำกริยาต้องห้ามคำนั้นDon't Walk on the Grass (2009)
แขวนเป็นคำกริยานะ ไม่ใช่ชื่อเรียกแซนวิชLeap Year (2010)
สามารถใช้ได้ ทั้งที่เป็น คำนามหรือคำกริยาRevelation Zero: Part 1 (2010)
เธอเป็นช่างประปาได้ ทีนี้เราก็เข้าใจคำกริยา 3 ประเภทแล้วEnglish as a Second Language (2010)
เดียวก่อน เธอพึ่งจะใช้ชื่อฉันเป็นคำกริยาหรอThe Switch (2010)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[kham kriyā = kham kariyā] (n) EN: verb  FR: verbe [ m ]
[kham kriyā wisēt] (n) EN: adverb  FR: adverbe
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(adj)ซึ่งประธานเป็นผู้กระทำ(คำกริยา)
(n)คำกริยาวิเศษณ์ (คำย่อของ adverb)See Also:คำช่วยกริยา
(idm)(รู้สึก) สุขสบาย (มักใช้คำกริยา be หรือ feel) (คำไม่เป็นทางการ)
(vt)กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา breakSee Also:แตกหักSyn.cracked
(vt)กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา breakSee Also:แตกหักSyn.cracked
(vt)กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา bringSyn.took
(n)คำแสดงเนื้อหา (ทางไวยากรณ์ เช่น คำนาม คำกริยา คำคุณศัพท์ เป็นต้น)Syn.open-class word
(aux)กริยาช่องที่ 1 ของคำกริยา do
(v)ดื่ม (กิริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา drink)
(vt)กิริยาช่อง 3 ของคำกริยา draw
(vi)กิริยาช่อง 3 ของคำกริยา draw
(vi)กิริยาช่อง 2 ของคำกริยา draw
(vt)กิริยาช่อง 2 ของคำกริยา draw
(vi)กิริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา drive
(vt)กิริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา drive
(vi)กริยาช่อง 2 และ 3 ของคำกริยา dig
(vt)กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา eat
(vi)กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา eat
(adj)เกี่ยวกับคำกริยาที่ต้องการทั้งกรรมตรงและส่วนขยาย
(adj)เกี่ยวกับคำกริยาที่แสดงการกระทำซ้ำๆ (ทางภาษาศาสตร์)
(n)คำกริยาซ้ำSee Also:คำกริยากล้ำ
(vt)กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา give
(n)คำนามที่มาจากคำกริยาเติม ing
(vt)กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา gnaw
(vi)กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา gnaw
(vt)กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา go
(vi)กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา get
(vt)กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา get
(vt)กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา grave
(vt)กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา grow
(n)คำกริยาที่แสดงการเริ่มต้นของการกระทำ (ทางภาษาศาสตร์)
(n)การผันคำกริยา (ทางไวยากรณ์)See Also:วิภัตติ
(vi)กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา kneelSyn.knelled
(vt)กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา know
(vt)กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา knowSee Also:รู้
(vt)คำกริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lay
(vi)คำกริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lay
(vi)คำกริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา lie
(vi)กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา lieSyn.rest
(vt)กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lean
(vi)กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lean
(vt)กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lead
(vi)กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lead
(n)กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา leave
(vt)กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lend
(vi)กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lend
(n)คำกริยาช่วยSyn.modal auxiliary verb
(n)คำกริยาช่วยSyn.modal auxiliary
Hope Dictionary
adj. เกี่ยวกับคำกริยาผิดรูป
(อิมเพอ' ซะเนิล) adj. ไม่ใช่ส่วนตัว, ไม่มีลักษณะของมนุษย์, ไม่ใช่บุรุษสรรพนาม. -n. คำกริยาหรือคำนามที่ไม่ใช่บุรุษสรรพนาม.
(อิมเซพ' ทิฟว) adj. เริ่มต้น, เริ่มแรกเกี่ยวกับกริยา (ไวยากรณ์) ที่เริ่มต้น. -n. คำกริยาที่แสดงการเริ่มต้นSyn.inchoative
(อินดะเค' ทิฟว) adj. เป็นการชี้บอก, ซึ่งชี้แนะ, เป็นดรรชนี. -n. มาลาเล่าในไวยาการณ์, คำกริยาในมาลาบอกเล่าของไวยากรณ์.See Also:indicatively adv.Syn.guiding
(เวิร์บ) n. คำกริยา.See Also:verbless adj.
(เวอ'เบิล) adj. เกี่ยวกับคำ, ประกอบด้วยคำเป็นคำพูด, ทีละคำ, เป็นวาจา, ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร, เกี่ยวกับหรือประกอบด้วยคำกริยา.n. คำ, คำกริยา.See Also:verbally adv.Syn.spoken, oral, statedAnt.written, formal
n. คำนามที่มาจากคำกริยา
(เวอ'บิไฟ) vt. เปลี่ยนให้เป็นคำกริยา, ใช้คำกริยา.See Also:verbification n.
Nontri Dictionary
(vt)ผันคำกริยา, รวมกัน, เชื่อม, ผนึก
(n)การผันคำกริยา, การเชื่อมต่อกัน, การรวมกัน
(n)คำกริยาที่ใช้เป็นคำนาม
(adj)เกี่ยวกับคำกริยาช่อง3
(n)คำกริยาช่อง3
(n)คำกริยา
(n)คำกริยา
(adj)เกี่ยวกับคำกริยา, ตามตัวอักษร, เป็นวาจา
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
放題
[ほうだい, houdai]...เท่าที่ต้องการ、มีไม่้อั้น (นิยมใชเติมหลังคำกริยา)
こっそり
[ほうだい, kossori](adv)แอบทำ ขยายคำกริยาในประโยคว่าแอบทำ โดยที่ไม่ต้องการให้ใครรู้
助動詞
[じょどうし, jodoushi](n)คำกริยานุเคราะห์See Also:R. auxiliary verb
副詞
[ふくし, fukushi](n)คำกริยาวิเศษณ์See Also:R. adverb
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ