ว. เสียงดังอึกทึก เช่น กระเกริ่นกระเกริกกฤษฎา (อุเทน).
(กฺริก, กฺริ๊ก) ว. เสียงของแข็งเช่นแก้ว โลหะ กระทบกัน.
(กฺริกกฺริว) ว. ขี้ริ้ว, เลว, เช่น โฉมใช่โฉมคนค้า หน้าใช่หน้ากริกกริว (ลอ).
ว. เริ่มมีเนื้อมีหนังขึ้น (มักใช้แก่เด็ก) เช่น เด็กคนนี้แก้มกะติ๊กริก.
(เกฺริก) ว. กึกก้อง, ดังสนั่น, เลื่องลือ, ยิ่ง.
(เอิกกะเหฺริก) ว. อื้ออึง
ใช้เป็นพยางค์หน้า (๑) ซึ่งเดิมเป็น ก กำ กุ ข ต ส เช่น กบิล-กระบิล, กำแพง-กระแพง, กุฎี-กระฎี, ขจัด-กระจัด, ตวัด-กระหวัด, สะท้อน-กระท้อน. (๒) โบราณใช้แทน ตระ เช่น ตระกูล-กระกูล, ตระลาการ-กระลาการ. (อัยการเบ็ดเสร็จ). (๓) เติมหน้าคำโดยไม่มีความหมายก็มี เช่น ซุ้ม-กระซุ้ม, โดด-กระโดด, พุ่ม-กระพุ่ม, ยาจก-กระยาจก, เติมให้มีความหมายแน่นแฟ้นขึ้นก็มี เช่น ทำ-กระทำ, ทุ้ง-กระทุ้ง, เสือกสน-กระเสือกกระสน. (๔) ยํ้าหน้าคำอันขึ้นต้นด้วย ก ในบทกลอน คือ กระกรี๊ด กระกรุ่น กระกลับกลอก กระเกริ่น กระเกรียม กระเกรียว กระเกรี้ยว กระเกริก. (๕) นอกนี้เป็น กระ มาแต่เดิม เช่น กระทรวง กระบือ.
(-เกฺริก) ว. กระเกริก, เสียงดังอึกทึก, เช่น กระเกรอกทงงท้องธรณี (สมุทรโฆษ).
ว. ระบือ เช่น กระเกริ่นกระเกริกกฤษฎา (อุเทน).
ก. เบิก เช่น ปรดิพหุลดุลยปรดิมุข หุลดุลยอุกกลุก ก็เกริกกระเบิกหาวหบ (อนิรุทธ์).
ว. เอิกเกริก เช่น พลเกรอกกระเออกอึง (สรรพสิทธิ์).
(-หน) ว. อื้ออึง, เอิกเกริก, วุ่นวาย, (โบ; กลอน) ใช้เป็น โกลา โกลี ก็มี เช่น เสียงโห่โกลาเกรียงไกร (คำพากย์), พระกุมารโกรธใจเป็นโกลี (ไชยเชฐ).
(คันชิด) ก. คำรน, บันลือเสียง, เอิกเกริก, กึกก้อง, กระหึม, เช่น ครรชิตฤทธิ์ราวี (ลอ).
เอิกเกริก เช่น งานครึกครื้น ขบวนแห่ครึกครื้น.
(คฺรืน, คฺรื้น, -คฺรั่น) ว. เอิกเกริก, กึกก้อง, สนั่น, มากด้วยกัน.
(คฺรื้นคฺรึก) ว. ครึกครื้น, รื่นเริง, สนุกสนาน, เอิกเกริก.
ว. ไม่มีเสียงเอะอะ เช่น นั่งทำงานเงียบ ๆ, ไม่เอิกเกริกอื้ออึง เช่น ทำอย่างเงียบ ๆ
(ฉะหฺลอง) ก. ทำบุญหรือบูชาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นงานเอิกเกริกเพื่อแสดงความปีติยินดี เช่น ฉลองพระ ฉลองหนังสือ ฉลองอายุ, จัดงานเอิกเกริกเพื่อแสดงความยินดีในโอกาสต่าง ๆ เช่น ฉลองปริญญา, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ เฉลิม เป็น เฉลิมฉลอง.
ว. อื้ออึง, เอิกเกริก, เกรียวกราว.
น. รูปร่าง, ทรวดทรง, เค้า, เช่น เนื้อชาววังใช้ช้า โฉมใช่โฉมคนค้า หน้าใช่หน้ากริกกริว (ลอ).
ก. เซ็งแซ่ เช่น เสียงกระเกริกเกรียวก้อง เซ็กห้องเสียงหัว (นิทราชาคริต).
ว. เป็นการเอิกเกริก, เป็นงานใหญ่, เช่น จัดงานสมโภชเป็นการใหญ่, เกินปรกติ เช่น เลี้ยงดูเป็นการใหญ่ จัดบ้านเป็นการใหญ่.
ก. มี่, อึงมี่, เอิกเกริก, แซ่, อึกทึก.
ว. อึกทึก, เอิกเกริก, เกรียวกราว.
(รบ, ระพะ, ระพา) น. เสียงร้อง, เสียงดัง, เสียงเอิกเกริก.
น. เสียงดัง, เสียงเอิกเกริก, เสียงอึง, เสียงร้องครํ่าครวญ.
ว. สนั่น, ดังลั่น, เอิกเกริก.