53 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*กฐิน*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: กฐิน, -กฐิน-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)KathinSee Also:religious ceremony of presenting robes to the Buddhist monksExample:โรงเรียนพาคณะนักเรียนไปร่วมงานทอดกฐินที่วัดใกล้โรงเรียนThai Definition:ผ้าพิเศษที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่ภิกษุสงฆ์เฉพาะกฐินกาล, ตามศัพท์แปลว่า ไม้สะดึง คือ ไม้แบบสำหรับตัดจีวร
(n)the annual robe offered to the monks who dwelled in the monasterySee Also:KathinSyn.การทอดกฐินExample:ปีนี้ครอบครัวทำบุญด้วยการทำกฐินทาน
(n)kind of a set of new robesExample:ประเพณีทอดกฐินอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า จุลกฐิน นิยมกันมาตั้งแต่โบราณกาลThai Definition:พิธีทอดกฐินที่ต้องทำต้องแต่ปั่นฝ้าย ทอ เย็บ ย้อมผ้ากฐินและถวายสงฆ์ให้เสร็จในวันเดียว
(v)present robes to monks at the end of Buddhist LentSee Also:hold a religious ceremony in which yellow robes are presented to the priestsExample:สมาชิกของสมาคมจะไปทอดกฐินที่วัดในจังหวัดอยุธยาThai Definition:ทำพิธีถวายผ้ากฐินแก่พระสงฆ์
(v)Kathina KhandhakaSee Also:stretch out monk's robes in order to cut to a standard sizeExample:ชาวบ้านกำลังกรานกฐินThai Definition:เอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรเข้าขึงที่ไม้สะดึง เย็บเสร็จแล้วบอกแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ร่วมใจกันยกผ้าให้ในนามของสงฆ์เพื่ออนุโมทนา
(n)set of new robes offered to Buddhist monksSyn.ผ้ากฐินExample:ชาวบ้านกำลังช่วยกันจัดองค์กฐินอยู่Unit:องค์Thai Definition:ผ้าผืนที่ถวายสงฆ์เพื่อกรานกฐิน
(n)ceremony of presenting yellow to the Buddhist monks at the end of the Buddhist LentExample:เขาได้รับคัดเลือกให้เป็นประธานในการทอดกฐินปีนี้
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(กะถิน, กะถินนะ-) น. ผ้าพิเศษที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่ภิกษุสงฆ์เฉพาะกฐินกาล, ตามศัพท์แปลว่า ไม้สะดึง คือ กรอบไม้สำหรับขึงผ้าที่จะเย็บเป็นจีวร
คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน).
(กะถินนะทาน) น. การทอดกฐิน.
(กะถินัดถาระกำ) น. การกรานกฐิน.
ดู กฐิน, กฐิน-.
(-กะถิน) ก. ขึงไม้สะดึง คือ เอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรเข้าขึงที่ไม้สะดึง เย็บเสร็จแล้วบอกแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ร่วมใจกันยกผ้าให้ในนามของสงฆ์เพื่ออนุโมทนา, ภิกษุผู้เย็บจีวรเช่นนั้น เรียกว่า ผู้กราน, สงฆ์ยกผ้าอันไม่พอแจกกันให้ภิกษุรูปหนึ่ง ภิกษุรูปนั้นทำตั้งแต่ซัก กะ ตัด เย็บ ย้อม เสร็จในวันนั้น ทำพินทุกัปปะอธิษฐานเป็นจีวรครอง เป็นจีวรกฐิน เรียกว่า . (อุปสมบทวิธี). (ดู กฐิน).
ก. แจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้น ๆ ไว้เป็นการล่วงหน้า.
น. เรียกพิธีทอดกฐินที่ต้องทำตั้งแต่ปั่นฝ้าย ทอ เย็บ ย้อมผ้ากฐิน และถวายสงฆ์ให้เสร็จในวันเดียว, โดยปริยายหมายความว่า งานที่ต้องทำอย่างชุลมุนวุ่นวายเพื่อให้เสร็จทันเวลาอันจำกัด.
น. เครื่องราช-ศิราภรณ์อย่างหนึ่ง ลักษณะเป็นจอมรวบขึ้นไปตั้งแต่มาลัยรักร้อย ปลายยาวเรียวปัดไปทางด้านหลังเล็กน้อย ปักพระยี่ก่าข้างซ้าย เรียกว่า พระชฎามหากฐิน.
ก. ทำพิธีถวายผ้ากฐินแก่พระสงฆ์.
น. ผ้าพิเศษที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่ภิกษุเฉพาะกฐินกาล.
ว. ชักช้า, เรื่องมาก, ยืดเยื้อ, เยิ่นเย้อกฐินบก ก็ว่า.
น. ชื่อพระชฎาเครื่องต้น เรียกว่า พระชฎามหากฐิน, ชื่อพระแสงหอกที่เชิญลงในขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เรียกว่า พระแสงหอกมหากฐิน.
ว. ชักช้า, เรื่องมาก, ยืดเยื้อ, เพ้อเจ้อกฐินบก ก็ว่า.
น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งตั้งวงสูง แขนตึง ระดับไหล่ มืออีกข้างหนึ่งหงายจีบระดับชายพก เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่ตั้งวง.
(-จุนละกะถิน) ก. อาการที่ต้องทำงานอย่างชุลมุนวุ่นวายเพื่อให้เสร็จทันเวลาอันจำกัด.
น. ผ้ากฐิน, ผ้าผืนที่ถวายสงฆ์เพื่อกรานกฐิน.
บริเวณปลายกระดูกสันหลังช้าง เหนือโคนหาง เช่น ผูกกระเบนสักหลาดถกล สัปทนแดงกางกั้ง (กฐินพยุห).
น. พระ ๒ รูปที่ทำหน้าที่สวดญัตติในการอุปสมบทหรือการกรานกฐินเป็นต้น.
เรียกธงผืนผ้ามีรูปจระเข้ตรงกลาง มักปักไว้ที่ท่านํ้าหน้าวัดแสดงว่าทอดกฐินแล้ว ว่า ธงจระเข้.
มั่นหมายไว้, ขอกำหนดไว้, เช่น จองกฐิน จองที่.
น. คราวที่เป็นฤดูถวายจีวร (งวดที่ ๑ ตั้งแต่วันมหาปวารณา คือ วันแรมคํ่าหนึ่งเดือน ๑๑ ถึงวันเพ็ญเดือน ๑๒, งวดที่ ๒ ตั้งแต่วันมหาปวารณาไปจนหมดฤดูหนาว, งวดที่ ๑ เป็นของพระที่มิได้กรานกฐิน, งวดที่ ๒ เป็นของพระที่กรานกฐินแล้ว).
ว. เนื่องในพระเจ้าแผ่นดิน เช่น ประพาสต้น กฐินต้น ช้างต้น ม้าต้น.
น. เจ้าของทาน, ผู้เป็นใหญ่ในการให้, เช่น ขอกุศลผลบุญจงบังเกิดแก่ทานาธิบดีในการทอดกฐินครั้งนี้.
(ทุดสะ-) น. ผ้า เช่น กฐินทุสทาน ว่า ถวายผ้ากฐิน.
น. ธงผืนผ้ามีรูปจระเข้ตรงกลาง มักปักไว้ที่ท่านํ้าหน้าวัด แสดงว่ารับกฐินแล้ว, คู่กับ ธงนางเงือก.
น. ธงผืนผ้ามีรูปนางเงือกตรงกลาง มักปักไว้ที่ท่าน้ำหน้าวัด แสดงว่ารับกฐินแล้ว, คู่กับ ธงจระเข้.
(บอริวาน) น. ผู้แวดล้อมหรือผู้ติดตาม เช่น พระพุทธเจ้ามีภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูปเป็นบริวาร, สิ่งที่เป็นส่วนประกอบหรือสมทบสิ่งอื่นที่เป็นประธาน เช่น บริวารกฐิน.
ก. บอกชักชวนให้ทำบุญเช่นในการสร้างโบสถ์ทอดกฐิน.
น. วรรคทั้ง ๕ ได้แก่ พยัญชนะตั้งแต่วรรค ก ถึงวรรค ป คือพยัญชนะตั้งแต่ ก ถึง ม, พระสงฆ์ ๕ รูป เรียกว่า สงฆ์เบญจวรรคหรือสงฆ์ปัญจวรรค ซึ่งสามารถทำสังฆกรรมบางอย่างได้เช่นรับกฐินหรืออุปสมบทพระภิกษุในถิ่นที่หาภิกษุได้ยาก.
น. ผ้า (พร้อมทั้งเครื่องบริวาร ถ้ามี) ที่นำเอาไปวางทอดไว้เสมือนว่าเป็นผ้าที่ทิ้งอยู่ในป่า เพื่อให้พระชักเอาไป เป็นทำนองผ้าบังสุกุล มักทำเป็นปรกติต่อท้ายทอดกฐิน เรียกว่า ทอดผ้าป่า.
(รึ-) น. ส่วนของปีซึ่งแบ่งโดยถือเอาภูมิอากาศเป็นหลัก มักแบ่งออกเป็น ๓ ช่วง คือ ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูร้อน หรือเป็น ๔ ช่วง คือ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว ที่แบ่งเป็น ๒ ช่วง คือ ฤดูแล้งกับฤดูฝน ก็มี, เวลาที่กำหนดสำหรับงานต่าง ๆ เช่น ฤดูเก็บเกี่ยว ฤดูทอดกฐิน ฤดูถือบวช, เวลาที่เหมาะ เช่น ฤดูสัตว์ผสมพันธุ์
น. พิธีกรรมทางศาสนา เช่น พิธีทอดกฐิน พิธีอุปสมบท เป็นศาสนพิธีของพระพุทธศาสนา.
ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำสังฆกรรม แต่จำนวนภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมแต่ละอย่างไม่เท่ากัน คือในสังฆกรรมทั่ว ๆ ไป เช่น ในการสวดพิธีธรรม สวดอภิธัมมัตถสังคหะ ประกอบด้วยภิกษุ ๔ รูป เรียกว่า สงฆ์จตุรวรรค ในการรับกฐิน สวดพระปาติโมกข์ ปวารณากรรม และอุปสมบทในถิ่นที่ขาดแคลนภิกษุ ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๕ รูป เรียกว่า สงฆ์ปัญจวรรค ในการอุปสมบทในถิ่นที่มีภิกษุมาก ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๑๐ รูป เรียกว่า สงฆ์ทสวรรค และในการสวดอัพภานระงับอาบัติสังฆาทิเสส ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๒๐ รูป เรียกว่า สงฆ์วีสติวรรค, ภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมดังกล่าว ถ้ามากกว่าจำนวนที่กำหนดจึงจะใช้ได้ ถ้าขาดจำนวนใช้ไม่ได้.
ว. ที่พร้อมเพรียงกันทำ, ที่ร่วมมือร่วมใจกันทำ, เช่น กฐินสามัคคี ผ้าป่าสามัคคี.
น. ป่า, บริเวณป่า, โบราณเขียนเป็น อรญญิก หรือ อไรญิก ก็มี เช่น ในกลางอรญญิก, เมืองสุโขทัยนี้มีอไรญิก (จารึกสยาม), (โบ) วัดอรัญญิก เช่น ไปสูดญัดกฐินเถิงอไรญิกพู้น (จารึกสยาม).
ประโยชน์ เช่น อานิสงส์กฐิน.
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[junlakathin] (n) EN: action of weaving, dyeing, sewing and presenting a set of yellow robes to a monk ; something done in a rush
[kān thøtkathin] (n) EN: ceremony of presenting yellow robes to the Buddhist monks at the end of the Buddhist Lent
[kathin] (n) EN: kathin ; kathin offerings ; gift of robes ; kathina
[Kathin Lūang] (n, exp) EN: royal Kathin ceremony
[Kathin Phrarātchāthān] (n, exp) EN: royal Kathin ceremony
[Kathin tūa] (n, exp) EN: ?  FR: ?
[phākathin] (n) EN: robes for presentation
[rap kathin] (v, exp) EN: receive robes at the presentation ceremony
[thøtkathin] (v, exp) EN: present robes to monks
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ