แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
20 ผลลัพธ์ สำหรับ 

ทำงานกับ

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: -ทำงานกับ-, *ทำงานกับ*
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ภูมิใจที่ได้ทำงานกับเขา พวกเขาเคารพ รัก การได้รับใช้เขาAladdin (1992)
ทำไมพี่ไม่หาห้องเช่าสักห้อง แล้วมาทำงานกับผมล่ะครับHero (1992)
- แล้วก็ได้บัตรทำงานกับตั๋วรถOf Mice and Men (1992)
เดี๋ยวไปทำงานกับกลุ่มธัญพืชหลังอาหารเย็นOf Mice and Men (1992)
พอเธอตาย เลนนี่เลยมาทำงานกับฉัน ฉันเคยแกล้งเขา เพราะเขาโง่จนดูแลตัวเองไม่ได้Of Mice and Men (1992)
เท็ดจะต้องไปทำงานกับพ่อของเขาที่บริษัทThe Joy Luck Club (1993)
เชิญ - คุณทำงานกับเรามาเกือบสองปีแล้ว - ใช่...Deep Throat (1993)
คุณมาทำงานกับ FBl ได้อย่างไร ?Deep Throat (1993)
Agent Mulder ฉัน... . Dana Scully ฉันได้รับมอบหมายให้มาทำงานกับคุณDeep Throat (1993)
ผมย้ายไปเรียนในอังกฤษ เมื่อกลับมา ผมถูกเลือกเข้าทำงานกับองค์กรDeep Throat (1993)
นายเลิกเป็นฟรีแลนซ์ได้แล้ว มาทำงานกับฉันดีกว่าIn the Mouth of Madness (1994)
และผมว่าคุณคงไม่รังเกียจ ถ้าผมจะส่งคุณสไตล์ส ไปทำงานกับคุณด้วยคนIn the Mouth of Madness (1994)
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(phrv)ทำงานให้See Also:ทำงานกับ
(phrv)ทำงานกับSyn.stop with
(phrv)ทำงานกับ
Hope Dictionary
นักเลงคอมพิวเตอร์เซียนคอมพิวเตอร์หมายถึง ผู้ที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์จนเชี่ยวชาญ บางทีเรียกว่า เซียนคอมพิวเตอร์ หรือนักเลงคอมพิวเตอร์
ชาวคอมพิวเตอร์หมายถึง คนที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์ รวมทั้งคนที่ชอบใช้อินเตอร์เน็ต หรือเล่นเกมคอมพิวเตอร์ด้วย คนกลุ่มนี้มักจะมีความคิดเห็น ความสนใจไปในทางเดียวกัน
(ฮาร์ดล็อค) หมายถึงการติดตั้งอุปกรณ์บางอย่างเข้ากับตัวเครื่อง เพื่อมิให้ใช้เครื่องได้ในกิจกรรมบางประการ เป็นต้นว่า การทำงานกับซอฟต์แวร์บางตัวเป็นต้น
มีการสอดประสานเป็นลักษณะของจอที่ใช้หลอดภาพกราดแสง (scan) บรรทัดเว้นบรรทัด ซึ่งจะไม่ดีต่อสายตา ถ้าต้องดูนาน ๆ และใกล้ ๆ อย่างเวลาทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ อาจใช้ เป็นจอโทรทัศน์ได้ แต่จอภาพของคอมพิวเตอร์ควรเป็นชนิดที่เรียกว่า non interlacing
หน่วยความจำหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น เมื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว เครื่องอ่านก็จะนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำนี้ แล้วจะเรียกมาใช้ในเวลาที่ต้องการ ข้อความหรือข้อมูลที่นำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำแล้วไม่ว่าจะนำมาใช้สักกี่ครั้งกี่หน ก็จะยังคงเป็นอยู่อย่างเดิม แต่ถ้าข้อมูลอื่นถูกอ่านทับเข้าไป ข้อมูลเก่าจะถูกลบไปทันที หรือถ้าไฟดับ ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในหน่วยความจำก็จะหายไปหมดเช่นกัน คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ดี หรือมีประสิทธิภาพมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับหน่วยความจำนี้มากกว่าอย่างอื่น สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ เราเรียกหน่วยความจำนี้ว่า ชิป (chip) ซึ่งใช้เป็นที่เก็บข้อมูล แบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ประเภทอ่านได้อย่างเดียว เรียกว่า "รอม" (ROM หรือที่ย่อมาจาก read-only memory) ซึ่งเก็บคำสั่งประเภทที่เครื่องต้องปฏิบัติตามทันที เช่น ไบออส (BIOS) ข้อมูลในนั้นจะไม่มีวันลบหายแม้ว่าจะปิดเครื่อง ส่วนอีกประเภทหนึ่ง เรียกว่า "แรม" (RAM หรือที่ย่อมาจาก random access memory) หน่วยความจำแรมนี้ใช้เก็บโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่กำลังจะใช้งาน เมื่อปิดไฟที่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในแรมจะหายไปหมด และหากเริ่มต้นเปิดเครื่องใหม่ ต้องการจะใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลใด ก็จะต้องบรรจุ (load) โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลนั้นมาเก็บไว้ในแรมก่อน จึงจะทำงานต่อไปได้ สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว ยิ่งแรมมีขนาดใหญ่เท่าใด ก็ยิ่งแสดงว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีประสิทธิภาพเท่านั้นอย่างไรก็ตาม หน่วยความจำที่กล่าวถึงนั้นเป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เรายังมีหน่วยเก็บข้อมูลที่อยู่นอกเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำนอกเครื่องนี้ เราเรียกว่า หน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) ซึ่งหมายถึงสื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ นั่นเอง เป็นต้นว่า จานบันทึก แถบบันทึก หน่วยความจำเหล่านี้ ไฟดับข้อมูลก็ยังอยู่
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ