44 ผลลัพธ์ สำหรับ 

-institutional-

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: institutional, *institutional*
Nontri Dictionary
(adj)เกี่ยวกับสถาบัน, เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม, เกี่ยวกับหลักฐาน
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ครัวเรือนสถาบัน[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
ผู้อยู่ในสถานที่รวม[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
ประชากรในสถานที่รวม[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
การบรรเทาทุกข์โดยสถาบัน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
แบบข้อมูลรายสถาบัน[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
โฆษณาเพื่อการประชาสัมพันธ์[TU Subject Heading]
การสงเคราะห์และดูแล[TU Subject Heading]
ผู้ลงทุนสถาบันExample:ผู้ลงทุนดังต่อไปนี้ 1.ธนาคารพาณิชย์ 2.บริษัทเงินทุน 3. บริษัทหลักทรัพย์ที่ซื้อหน่วยลงทุนเพื่อเป็นทรัพย์สินของตนเอง หรือเพื่อการบริหารกองทุนส่วนบุคคล หรือเพื่อการจัดการโครงการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจฟองซิเอร์ 4. บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ 5. บริษัทประกันภัย 6. นิติบุคคลที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นซึ่งมิได้เป็นบุคคลตาม ข้อ 9 7. ธนาคารแห่งประเทศไทย 8. สถาบันการเงินระหว่างประเทศ 9. ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ 10. กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน 11. กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ 12. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 13. กองทุนรวมตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 14. นิติบุคคลที่มีเงินลงทุนในหลักทรัพย์ตามงบการเงินปีล่าสุดที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้วตั้งแต่หนึ่งร้อยล้านบาทขึ้นไป 15. นิติบุคคลซึ่งมีผู้ถือหุ้นเป็นบุคคลตามข้อ 1 ถึงข้อ 14 ถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของจำนวนหุ้น ที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด 16. ผู้ลงทุนต่างประเทศซึ่งมีลักษณะเดียวกับผู้ลงทุนตามข้อ 1 ถึง ข้อ 15 17. ผู้ลงทุนที่มิใช่ผู้ลงทุนตามข้อ 1 ถึง ข้อ 16 ซึ่งซื้อหน่วยลงทุนตั้งแต่สิบล้านบาทขึ้นไป [ตลาดทุน]
คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันExample:Institutional Repository หรือ คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน นั้น หมายถึง คลังเก็บทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล อันเป็นภูมิปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงาน องค์กร ซึ่งมีการจัดเก็บเป็นศูนย์รวม มีการสงวนรักษา และมีการจัดทำดัชนีที่ได้มาตรฐาน สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นได้ [ 1 ] หรือกล่าวได้ว่า คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันเป็นบริการหรือหน้าที่ของมหาวิทยาลัย/องค์กร ในการจัดการและเผยแพร่งานในรูปแบบดิจิทัลอันเป็นผลงานหรือผลผลิตของคณาจารย์ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา หรือสมาชิกในประชาคมนั้นๆ และผู้ใช้ทั้งภายในและภายนอกสามารถเข้าถึงได้ [ 2, 3 ] ซึ่งผลงานเหล่านั้น นอกจากจะเป็นรายงานที่กำลังดำเนินงาน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แล้ว ยังหมายรวมถึงงานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ (grey literature) ซึ่งมีเป็นจำนวนมากในวัฒนธรรมของการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเรื่องยากที่บรรณารักษ์ที่จะรวบรวม จัดเก็บ และสงวนรักษาไว้อย่างเป็นระบบ [ 4 ] <p> คุณลักษณะที่สำคัญของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p>จอห์นสัน [ 3 ] กล่าวว่า การจัดทำคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะดังนี้ <p> 1. เนื้อหาที่เป็นดิจิทัล (Digital content) ในระบบของคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้นเก็บผลงานที่เป็นดิจิทัลเท่านั้น <p> 2. การเน้นงานที่สร้างโดยสมาชิกของสถาบัน (Institutionally-defined) การจัดทำคลังเก็บระดับสถาบันเน้นการจัดเก็บผลงานของสมาชิกในประชาคมนั้นๆ เท่านั้น <p> 3. เนื้อหาทางวิชาการ (Scholarly content) เนื้อหา ที่นำมาจัดเก็บในคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้น เน้นเนื้อหาทางวิชาการ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันในการรวบรวม การสงวนรักษา และการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ซึ่งผลงานเหล่านี้อาจหมายรวมถึง ผลงานก่อนตีพิมพ์ และผลงานที่อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน บทความที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา หนังสือ สื่อการสอน ชุดข้อมูล บทความเสนอการประชุม วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และวรรณกรรมไม่ตีพิมพ์ เป็นต้น การควบคุมและการจัดการการเข้าถึงเนื้อหาทางวิชาการเหล่านี้ จำเป็นต้องอาศัยนโยบายและกลไกที่เหมาะสม รวมทั้งการบริหารจัดการด้านเนื้อหาและระบบการควบคุมเอกสาร (document version control systems) กรอบนโยบายและโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิคของคลังเก็บต้องเอื้ออำนวยให้ผู้ จัดการคลังเก็บมีความยืดหยุ่นต่อการควบคุมระบบ ใครเป็นผู้ที่สามารถรับรอง (approve) เข้าถึง (access) แก้ไข (update) ผลงานดิจิทัลเหล่านั้นที่มาจากต่างแหล่งกันในชุมชนนั้นๆ <p> 4. การสะสมเพิ่มพูน และความยั่งยืน (Cumulative and perpetual) ในส่วนของการเป็นคลังเก็บจะต้องมีการสะสมผลงาน ผลงานเมื่อมีการนำเข้าคลังเก็บแล้ว ไม่ควรมีการถอดถอนออกจากคลัง ยกเว้นแต่มีเหตุจำเป็น เช่น งานนั้นมีการละเมิดลิขสิทธิ์ เป็นต้น การเป็นคลังเก็บจึงต้องพัฒนาเกณฑ์และนโยบาย รวมทั้งนำระบบการจัดการสิทธิ์ (right management) มาประยุกต์ใช้ ในการอนุญาตให้เข้าถึงเนื้อหาในคลังเก็บทั้งจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภาย นอก รวมทั้งต้องมีระบบการสงวนรักษาผลงาน และสามารถให้เข้าถึงได้ในระยะยาวได้ <p> 5. การทำงานร่วมกันได้และการเข้าถึงแบบเปิด/แบบเสรี (Interoperable and open access) คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่งของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน คือ การสามารถให้มีการเข้าถึงได้แบบเปิด / แบบเสรี หรือมีปัญหาในการเข้าถึงให้น้อยที่สุด (เช่น การต้องลงทะเบียนในการเข้าใช้) ในส่วนของการเป็นระบบที่สามารถทำงานร่วมกันได้นั้น เป็นเรื่องทางเทคนิคที่มีการนำการเก็บถาวรแบบเปิด หรือ Open Archives Initiative (OAI) มาใช้เพื่อเป็นแนวทางการกำหนดมาตรฐานสำหรับการเก็บรักษาในเชิงบันทึกถาวร และสามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนเมทาดาทาทำให้สามารถสืบค้น และเรียกใช้ข้อมูลข้ามระบบกันได้ <p>ประโยชน์ของการมีคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p> 1. ทำให้เกิดระบบการรวบรวม สงวนรักษา และเผยแพร่เนื้อหาทางวิชาการ <p> 2. เป็นเสมือนตัวชี้วัดของคุณภาพทางวิชาการของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย โดยมุ่งที่รวมเอางานทางปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย มาไว้ในที่เดียวกัน และสามารถเข้าถึงได้ทั่วโลก <p> 3. เป็นการสงวนรักษาทรัพย์สินทางปัญญาในรูปดิจิทัล <p> 4. เป็นเสมือนพื้นฐานของกระบวนทัศน์ใหม่ในการพิมพ์ผลงานทางวิชาการ <p> 5. เป็นการสื่อสารทางวิชาการ (scholarly communication) <p> 6. เป็นการจัดการความรู้ <p> 7. เป็นการสนับสนุนเรื่องการเข้าถึงโดยเสรี <p>รายการอ้างอิง: <p>[ 1 ] “What is an Institutional Repository”. [ On-line ]. Available: http://library.ucalgary.ca/libraryinformation/dspace/whatisaninstitutionalrepository.php. Visited: 12/08/2007 10.30. <p>[ 2 ] Lynch, Clifford A. “Institutional repository : essential infrastructure for scholarship in the digital age.” ARL 226 (February 2003): 1-7 [ On-line ]. Available: http://www.arl.org/resources/pubs/br/br226/br226ir.shtml. Visited: 12/08/2007 10.34. <p>[ 3 ] Johnson, Richard K. “Institutional repositories : partnering with faculty to enhance scholarly communication.” D-Lib Magazine V.8 No.11 (November 2002) [ On-line ]. Available: http://www.dlib.org/dlib/november02/johnson/11johnson.html. Visited: 12/08/10.52. <p>[ 4 ]Tennant, Roy. “Institutional Repositories”. Library Journal 9, 15 (2002). [ On-line ]. Available: http://www.libraryjournal.com/index.asp?layout=article&articleid=CA242297&publication=libraryjournal. Visited: 13/08/2007. 10.51.[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
สถานเลี้ยงดูเด็ก[การแพทย์]
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(adj)to make institutional
ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[sētthasāt sathāban] (n, exp) EN: institutional economics
CMU Pronouncing Dictionary
WordNet (3.0)
(adj)relating to or constituting or involving an institution
(adj)organized as or forming an institutionAnt.noninstitutional
(adv)by an institution
Collaborative International Dictionary (GCIDE)

a. 1. Pertaining to, or treating of, an institution or institutions; as, institutional legends. [ 1913 Webster ]

Institutional writers as Rousseau. J. S. Mill. [ 1913 Webster ]

2. Instituted by authority. [ 1913 Webster ]

3. Elementary; rudimental. [ 1913 Webster ]

DING DE-EN Dictionary
institutionalisieren
institutionalize[Add to Longdo]
institutionalisierend
institutionalizing[Add to Longdo]
institutionalisiert
institutionalizes[Add to Longdo]
institutionalisierte
institutionalized[Add to Longdo]
EDICT JP-EN Dictionary
[insuteichu-shonarizumu](n) institutionalism[Add to Longdo]
[きかんとうしか, kikantoushika](n) institutional investor[Add to Longdo]
[せいどか, seidoka](n, vs) institutionalization[Add to Longdo]
[せいどがくは, seidogakuha](n) institutionalism; institutional school[Add to Longdo]
[ほうじんかぶぬし, houjinkabunushi](n) institutional stockholder[Add to Longdo]
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ