แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
ads-m
94 ผลลัพธ์ สำหรับ 

-อก ๓-

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: อก ๓, *อก ๓*
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ว. หก, (โบ) เรียกลูกหญิงคนที่ ๖ ว่า ลูกอก, คู่กับ ลูกชายคนที่ ๖ ว่า ลูกลก.
ว. เขยก (ใช้แก่ขา). (ข. ขฺจก ว่า ขาพิการ)
ไม่สำคัญ, เล็กน้อย, เช่น เรื่องกระจอก, ต่ำต้อย เช่น คนกระจอก.
น. ดอกไม้, กลีบดอกไม้, เช่น กระบอกทิพย์ผกากวน กาเมศ กูเอย (นิ. นรินทร์), กว่ากลิ่นกระบอกบง- กชเกศเอาใจ (เสือโค), ใช้ว่า ตระบอก ก็มี.
น. ชื่อเรียกเฟินอิงอาศัยหลายชนิดในสกุล Drynaria และ Platycerium วงศ์ Polypodiaceae.
(คฺรอก) ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงกรนของคนที่หลับ.
น. ชื่อนกขนาดใหญ่หลายชนิด ในวงศ์ Bucerotidae ปากใหญ่ บนส่วนท้ายของขากรรไกรบนมีโหนกแข็ง ส่วนใหญ่ภายในโหนกแข็งกลวง ยกเว้นบางชนิดมีโหนกแข็งตัน เช่น นกชนหิน ส่วนใหญ่ลำตัวสีดำ นอกฤดูผสมพันธุ์อยู่รวมกันเป็นฝูง ขณะบินมีเสียงดัง ระยะเริ่มตกไข่ตัวเมียจะอยู่ในโพรงไม้ แล้วใช้เศษอาหาร ดิน และมูลปิดปากโพรงด้านใน ตัวผู้ใช้วัสดุเดียวกันปิดปากโพรงทางด้านนอก เหลือรูพอที่ตัวผู้จะหาอาหารมาป้อนให้ขณะที่ตัวเมียฟักไข่และเลี้ยงลูกได้ ร้องเสียงดังมาก กินผลไม้และสัตว์ขนาดเล็ก เช่น เงือกกรามช้าง [ Rhyticeros undulatus (Shaw) ] เงือกหัวแรด ( Buceros rhinoceros Linn.) เงือกสีน้ำตาล [ Ptilolaemus tickelli (Blyth) ] เงือกดำ [ Anthracoceros malayanus (Raffles) ].
น. นกกระจอก.
น. ต้นคงคาเดือด. (ดู คงคาเดือด).
ดู ช้าง ๒.
ว. คำประกอบใช้ในความแย้งหรือปฏิเสธ เช่น ได้แต่มัทรีที่แสนดื้อผู้เดียวดอก ไม่รู้จักปลิ้นปลอกพลิกไพล่เอาตัวหนี (ม.ร่ายยาว มัทรี), (ปาก) มักพูดว่า หรอก เช่น ไม่ไปหรอก.
ก. แตก, ทำให้แตก, เช่น ตอกไข่ไก่.
น. เรียกข้าวเปลือกข้าวเจ้าที่เอามาคั่วให้แตกบานเป็นดอก ว่า ข้าวตอก.
ว. เสียงดังเช่นนั้น
อาการที่เดินเรื่อย ๆ ไปหรืออาการที่วิ่งไปวิ่งมาอย่างเด็กวิ่งเล่น เช่น เดินต๊อก ๆ วิ่งต๊อก ๆ.
น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ ในวงศ์ Veneridae รูปเปลือกค่อนข้างกลม สีนวล ผิวเปลือกมีสันลักษณะเป็นเส้นทั้งในแนวตั้งและแนวนอน เช่น ชนิด Periglypta puerpera (Linn).
ก. ตวัดรัดให้แน่น เช่น ล็อกคอ ล็อกแขน.
ว. บาง, ลาง.
ก. อาการที่เคลื่อนไปข้างนอกหรือพ้นจากที่ปิดบัง เช่น เลือดออก แดดออก, เคลื่อนจากที่ เช่น รถออก
ทำให้ปรากฏ เช่น ออกภาพทางโทรทัศน์ ออกลอตเตอรี่ ลอตเตอรี่ออก
ทำให้เกิดขึ้น มีขึ้น เช่น ออกกฎหมาย
พ้นภาวะ เช่น ออกจากงาน
แตก, ผลิ, งอก, เช่น ออกกิ่ง ออกใบอ่อน ออกราก
จ่าย เช่น ออกเงิน
แสดง เช่น ออกท่า
นำ เช่น ออกหน้า
เปลี่ยนการบรรเลงจากเพลงหนึ่งไปเป็นอีกเพลงหนึ่ง เช่น บรรเลงเพลงลมพัดชายเขาจบ ออกเพลงลมหวน
เป็นกริยาช่วย หมายความว่า ค่อนข้าง เช่น ใจออกจะโกรธ ออกฉุน.
ว. ตรงข้ามกับ เข้า เช่น ทางออก
ขยาย, แยกเป็นคนละส่วน, เช่น คลี่ออก แบ่งออก
หลุดไปได้, สำเร็จไปได้, เช่น ร้องออก ถอนออก
ได้, ทำได้, เช่น อ่านออก นึกออก คิดออก
คำประกอบหลังคำอื่นเพื่อเน้นให้ความเด่นขึ้น เช่น ดำออกอย่างนี้
ขึ้น เช่น ตะวันออก เมืองออก.
น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีเคล้าน้ำตาลกับน้ำมัน ปั้นเป็นดอก ๓ กลีบอย่างดอกลำดวน แล้วอบหรือผิง, ดอกลำดวน ก็เรียก
น. สิ่งที่เป็นวง ๆ, ลักษณนามเรียกของที่เป็นวง ๆ เช่นนั้น เช่น เชือก ๓ ขด.
น. กำหนดเวลาที่ไพร่หลวงไพร่สมเข้ามาทำงานให้ทางราชการในแต่ละปีเป็นจำนวนเดือน มากหรือน้อยเปลี่ยนแปลงไปตามสมัย เช่น เข้าเดือน ออกเดือน เข้าเดือน ออก ๒ เดือน เข้าเดือน ออก ๓ เดือน. (ดู ออกเดือน ประกอบ).
น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีเคล้านํ้าตาลกับนํ้ามัน ปั้นเป็นดอก ๓ กลีบอย่างดอกลำดวน แล้วอบหรือผิง, กลีบลำดวน ก็เรียก.
ก. แทงโปโดยวิธีเลี่ยม ลูกค้าติดประตูข้างเคียงได้ ๑ ประตู โปออกประตูที่ลูกค้าแทงเลี่ยมไว้ เจ้ามือจ่าย ๒ ต่อ ถ้าออกประตูที่ลูกค้าแทงติดไว้ ไม่ได้ไม่เสีย ถ้าออกประตูอื่นนอกจากนั้น เจ้ามือกิน เช่น ลูกค้าแทงเลี่ยม ๒ ติด ๓ โปออก ๒ เจ้ามือจ่าย ๒ ต่อ ถ้าออก ๓ ไม่ได้ไม่เสีย ถ้าออกหน่วยหรือครบ เจ้ามือกิน.
น. ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ถ้วยครอบเบี้ย โดยมากใช้เบี้ยจั่น เมล็ดมะขาม หรือ เมล็ดละหุ่ง เป็นต้น แล้วแจงออกเป็นคะแนนทีละ ๔ ครั้งสุดท้ายถ้าเหลือ ๑ เรียกว่า ออกหน่วย ถ้าเหลือ ๒, ๓ เรียกว่า ออก ๒ ออก ๓ ถ้าเหลือ ๔ เรียกว่า ออกครบ มีประตูแทง ๔ ประตู คือ หน่วย สอง สาม และครบ ส่วนวิธีแทงได้นำวิธีแทงโปมาใช้ มี เหม็ง กั๊ก เลี่ยม อ๋อ ชั้ว ถ่อ และอา, โปกำ ก็เรียก.
(-เบนจก) น. ธัญชาติทั้ง ๕ ได้แก่ ๑. ศาลิ–ข้าวเจ้า ๒. วฺรีหิ–ข้าวเปลือก ๓. ศูก–ลูกเดือย ๔. ศิมฺพี–ถั่ว ๕. กฺษุทฺร–ข้าวกษุทร.
น. ผมที่ไว้ยาวบริเวณท้ายทอย, ผมที่ถักห้อยยาวลงมา, ผมเปีย หรือ หางเปีย ก็เรียก, เรียกลายที่ถักตอก ๓ ขาไขว้กัน ว่า ลายเปีย หรือ ลายผมเปีย
น. ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ถ้วยครอบเบี้ย โดยมากใช้เบี้ยจั่น เมล็ดมะขาม หรือเมล็ดละหุ่งเป็นต้น แล้วแจงออกเป็นคะแนนทีละ ๔ ครั้งสุดท้ายถ้าเหลือ ๑ เรียกว่า ออกหน่วย ถ้าเหลือ ๒, ๓ เรียกว่า ออก ๒ ออก ๓ ถ้าเหลือ ๔ เรียกว่า ออกครบ มีประตูแทง ๔ ประตู คือ หน่วย สอง สาม และครบ ส่วนวิธีแทงได้นำวิธีแทงโปมาใช้ คือ เหม็ง กั๊ก เลี่ยม อ๋อ ชั้ว ถ่อ และ อา, ถั่ว ก็เรียก.
ออกซํ้า ๆ เช่น ถั่วออก ๓ ยืนโรง (มักใช้แก่การพนันบางอย่าง).
น. ชื่อลายจักสานลายหนึ่ง ใช้ในการสานไซ ข้อง กระบุง กล่องข้าว เป็นต้น ใช้ตอก ๓ เส้นเสมอไป ส่วนตอกซังจะใช้น้อยหรือมากหรือถี่ห่างอย่างไรก็ได้ แต่ต้องเป็นจำนวนคู่ สานโดยขึ้นตอกสาน ๓ เส้นขัดตอกซัง เว้นตอกซังไว้ ๒ เส้น แล้วเอาตอกสานเส้นกลางไพล่กลับข้ามตอกซัง ๓ เส้น ยกตอกซัง ๓ เส้น ต่อไปจึงไขว้ตอกสาน ๒ เส้นที่เหลือด้วยวิธีเดียวกัน สานไพล่ไปไพล่มาเช่นนี้ตลอด, ลายไพรกาว ก็เรียก.
น. วิธีแทงโปวิธีหนึ่ง ถ้าลูกค้าแทงเหม็งประตูใด โปออกประตูนั้น เจ้ามือใช้ ๑ ต่อ ถ้าออกข้างเคียงซ้ายหรือขวา เป็นเจ๊า ถ้าออกประตูตรงข้าม เจ้ามือกิน เช่น เหม็ง ๒ ถ้าออก ๒ เป็นถูก ออกหน่วย ออก ๓ เป็นเจ๊า ออกครบ เจ้ามือกิน.
น. กำหนดเวลาที่ไพร่หลวงไพร่สมไม่ต้องมาทำงานให้ทางราชการหลังจากการเข้าเดือนในแต่ละปี เป็นจำนวนเดือน มากหรือน้อยเปลี่ยนแปลงไปตามสมัย เช่น เข้าเดือน ออกเดือน เข้าเดือน ออก ๒ เดือน เข้าเดือน ออก ๓ เดือน. (ดู เข้าเดือน ประกอบ).
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ว. เขยก (ใช้แก่ขา). (ข. ขฺจก ว่า ขาพิการ)
ไม่สำคัญ, เล็กน้อย, เช่น เรื่องกระจอก, ต่ำต้อย เช่น คนกระจอก.
น. ดอกไม้, กลีบดอกไม้, เช่น กระบอกทิพย์ผกากวน กาเมศ กูเอย (นิ. นรินทร์), กว่ากลิ่นกระบอกบง- กชเกศเอาใจ (เสือโค), ใช้ว่า ตระบอก ก็มี.
น. ชื่อเรียกเฟินอิงอาศัยหลายชนิดในสกุล Drynaria และ Platycerium วงศ์ Polypodiaceae.
(คฺรอก) ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงกรนของคนที่หลับ.
น. ชื่อนกขนาดใหญ่หลายชนิด ในวงศ์ Bucerotidae ปากใหญ่ บนส่วนท้ายของขากรรไกรบนมีโหนกแข็ง ส่วนใหญ่ภายในโหนกแข็งกลวง ยกเว้นบางชนิดมีโหนกแข็งตัน เช่น นกชนหิน ส่วนใหญ่ลำตัวสีดำ นอกฤดูผสมพันธุ์อยู่รวมกันเป็นฝูง ขณะบินมีเสียงดัง ระยะเริ่มตกไข่ตัวเมียจะอยู่ในโพรงไม้ แล้วใช้เศษอาหาร ดิน และมูลปิดปากโพรงด้านใน ตัวผู้ใช้วัสดุเดียวกันปิดปากโพรงทางด้านนอก เหลือรูพอที่ตัวผู้จะหาอาหารมาป้อนให้ขณะที่ตัวเมียฟักไข่และเลี้ยงลูกได้ ร้องเสียงดังมาก กินผลไม้และสัตว์ขนาดเล็ก เช่น เงือกกรามช้าง [ Rhyticeros undulatus (Shaw) ] เงือกหัวแรด ( Buceros rhinoceros Linn.) เงือกสีน้ำตาล [ Ptilolaemus tickelli (Blyth) ] เงือกดำ [ Anthracoceros malayanus (Raffles) ].
น. นกกระจอก.
น. ต้นคงคาเดือด. (ดู คงคาเดือด).
ดู ช้าง ๒.
ว. คำประกอบใช้ในความแย้งหรือปฏิเสธ เช่น ได้แต่มัทรีที่แสนดื้อผู้เดียวดอก ไม่รู้จักปลิ้นปลอกพลิกไพล่เอาตัวหนี (ม.ร่ายยาว มัทรี), (ปาก) มักพูดว่า หรอก เช่น ไม่ไปหรอก.
ก. แตก, ทำให้แตก, เช่น ตอกไข่ไก่.
น. เรียกข้าวเปลือกข้าวเจ้าที่เอามาคั่วให้แตกบานเป็นดอก ว่า ข้าวตอก.
ว. เสียงดังเช่นนั้น
อาการที่เดินเรื่อย ๆ ไปหรืออาการที่วิ่งไปวิ่งมาอย่างเด็กวิ่งเล่น เช่น เดินต๊อก ๆ วิ่งต๊อก ๆ.
น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ ในวงศ์ Veneridae รูปเปลือกค่อนข้างกลม สีนวล ผิวเปลือกมีสันลักษณะเป็นเส้นทั้งในแนวตั้งและแนวนอน เช่น ชนิด Periglypta puerpera (Linn).
ก. ตวัดรัดให้แน่น เช่น ล็อกคอ ล็อกแขน.
ว. บาง, ลาง.
ว. หก, (โบ) เรียกลูกหญิงคนที่ ๖ ว่า ลูกอก, คู่กับ ลูกชายคนที่ ๖ ว่า ลูกลก.
ก. อาการที่เคลื่อนไปข้างนอกหรือพ้นจากที่ปิดบัง เช่น เลือดออก แดดออก, เคลื่อนจากที่ เช่น รถออก
ทำให้ปรากฏ เช่น ออกภาพทางโทรทัศน์ ออกลอตเตอรี่ ลอตเตอรี่ออก
ทำให้เกิดขึ้น มีขึ้น เช่น ออกกฎหมาย
พ้นภาวะ เช่น ออกจากงาน
แตก, ผลิ, งอก, เช่น ออกกิ่ง ออกใบอ่อน ออกราก
จ่าย เช่น ออกเงิน
แสดง เช่น ออกท่า
นำ เช่น ออกหน้า
เปลี่ยนการบรรเลงจากเพลงหนึ่งไปเป็นอีกเพลงหนึ่ง เช่น บรรเลงเพลงลมพัดชายเขาจบ ออกเพลงลมหวน
เป็นกริยาช่วย หมายความว่า ค่อนข้าง เช่น ใจออกจะโกรธ ออกฉุน.
ว. ตรงข้ามกับ เข้า เช่น ทางออก
ขยาย, แยกเป็นคนละส่วน, เช่น คลี่ออก แบ่งออก
หลุดไปได้, สำเร็จไปได้, เช่น ร้องออก ถอนออก
ได้, ทำได้, เช่น อ่านออก นึกออก คิดออก
คำประกอบหลังคำอื่นเพื่อเน้นให้ความเด่นขึ้น เช่น ดำออกอย่างนี้
ขึ้น เช่น ตะวันออก เมืองออก.
น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีเคล้าน้ำตาลกับน้ำมัน ปั้นเป็นดอก ๓ กลีบอย่างดอกลำดวน แล้วอบหรือผิง, ดอกลำดวน ก็เรียก
น. สิ่งที่เป็นวง ๆ, ลักษณนามเรียกของที่เป็นวง ๆ เช่นนั้น เช่น เชือก ๓ ขด.
น. กำหนดเวลาที่ไพร่หลวงไพร่สมเข้ามาทำงานให้ทางราชการในแต่ละปีเป็นจำนวนเดือน มากหรือน้อยเปลี่ยนแปลงไปตามสมัย เช่น เข้าเดือน ออกเดือน เข้าเดือน ออก ๒ เดือน เข้าเดือน ออก ๓ เดือน. (ดู ออกเดือน ประกอบ).
น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีเคล้านํ้าตาลกับนํ้ามัน ปั้นเป็นดอก ๓ กลีบอย่างดอกลำดวน แล้วอบหรือผิง, กลีบลำดวน ก็เรียก.
ก. แทงโปโดยวิธีเลี่ยม ลูกค้าติดประตูข้างเคียงได้ ๑ ประตู โปออกประตูที่ลูกค้าแทงเลี่ยมไว้ เจ้ามือจ่าย ๒ ต่อ ถ้าออกประตูที่ลูกค้าแทงติดไว้ ไม่ได้ไม่เสีย ถ้าออกประตูอื่นนอกจากนั้น เจ้ามือกิน เช่น ลูกค้าแทงเลี่ยม ๒ ติด ๓ โปออก ๒ เจ้ามือจ่าย ๒ ต่อ ถ้าออก ๓ ไม่ได้ไม่เสีย ถ้าออกหน่วยหรือครบ เจ้ามือกิน.
น. ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ถ้วยครอบเบี้ย โดยมากใช้เบี้ยจั่น เมล็ดมะขาม หรือ เมล็ดละหุ่ง เป็นต้น แล้วแจงออกเป็นคะแนนทีละ ๔ ครั้งสุดท้ายถ้าเหลือ ๑ เรียกว่า ออกหน่วย ถ้าเหลือ ๒, ๓ เรียกว่า ออก ๒ ออก ๓ ถ้าเหลือ ๔ เรียกว่า ออกครบ มีประตูแทง ๔ ประตู คือ หน่วย สอง สาม และครบ ส่วนวิธีแทงได้นำวิธีแทงโปมาใช้ มี เหม็ง กั๊ก เลี่ยม อ๋อ ชั้ว ถ่อ และอา, โปกำ ก็เรียก.
(-เบนจก) น. ธัญชาติทั้ง ๕ ได้แก่ ๑. ศาลิ–ข้าวเจ้า ๒. วฺรีหิ–ข้าวเปลือก ๓. ศูก–ลูกเดือย ๔. ศิมฺพี–ถั่ว ๕. กฺษุทฺร–ข้าวกษุทร.
น. ผมที่ไว้ยาวบริเวณท้ายทอย, ผมที่ถักห้อยยาวลงมา, ผมเปีย หรือ หางเปีย ก็เรียก, เรียกลายที่ถักตอก ๓ ขาไขว้กัน ว่า ลายเปีย หรือ ลายผมเปีย
น. ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ถ้วยครอบเบี้ย โดยมากใช้เบี้ยจั่น เมล็ดมะขาม หรือเมล็ดละหุ่งเป็นต้น แล้วแจงออกเป็นคะแนนทีละ ๔ ครั้งสุดท้ายถ้าเหลือ ๑ เรียกว่า ออกหน่วย ถ้าเหลือ ๒, ๓ เรียกว่า ออก ๒ ออก ๓ ถ้าเหลือ ๔ เรียกว่า ออกครบ มีประตูแทง ๔ ประตู คือ หน่วย สอง สาม และครบ ส่วนวิธีแทงได้นำวิธีแทงโปมาใช้ คือ เหม็ง กั๊ก เลี่ยม อ๋อ ชั้ว ถ่อ และ อา, ถั่ว ก็เรียก.
ออกซํ้า ๆ เช่น ถั่วออก ๓ ยืนโรง (มักใช้แก่การพนันบางอย่าง).
น. ชื่อลายจักสานลายหนึ่ง ใช้ในการสานไซ ข้อง กระบุง กล่องข้าว เป็นต้น ใช้ตอก ๓ เส้นเสมอไป ส่วนตอกซังจะใช้น้อยหรือมากหรือถี่ห่างอย่างไรก็ได้ แต่ต้องเป็นจำนวนคู่ สานโดยขึ้นตอกสาน ๓ เส้นขัดตอกซัง เว้นตอกซังไว้ ๒ เส้น แล้วเอาตอกสานเส้นกลางไพล่กลับข้ามตอกซัง ๓ เส้น ยกตอกซัง ๓ เส้น ต่อไปจึงไขว้ตอกสาน ๒ เส้นที่เหลือด้วยวิธีเดียวกัน สานไพล่ไปไพล่มาเช่นนี้ตลอด, ลายไพรกาว ก็เรียก.
น. วิธีแทงโปวิธีหนึ่ง ถ้าลูกค้าแทงเหม็งประตูใด โปออกประตูนั้น เจ้ามือใช้ ๑ ต่อ ถ้าออกข้างเคียงซ้ายหรือขวา เป็นเจ๊า ถ้าออกประตูตรงข้าม เจ้ามือกิน เช่น เหม็ง ๒ ถ้าออก ๒ เป็นถูก ออกหน่วย ออก ๓ เป็นเจ๊า ออกครบ เจ้ามือกิน.
น. กำหนดเวลาที่ไพร่หลวงไพร่สมไม่ต้องมาทำงานให้ทางราชการหลังจากการเข้าเดือนในแต่ละปี เป็นจำนวนเดือน มากหรือน้อยเปลี่ยนแปลงไปตามสมัย เช่น เข้าเดือน ออกเดือน เข้าเดือน ออก ๒ เดือน เข้าเดือน ออก ๓ เดือน. (ดู เข้าเดือน ประกอบ).
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ