การตัดแต่งพันธุกรรม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
แบคทีเรียชอบเค็ม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
จุลินทรีย์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
จุลินทรีย์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม, Example:<p>สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically Modified Organisms - GMOs) คือ สิ่งมีชีวิตที่ได้รับการตัดต่อยีนที่ควบคุมลักษณะที่ต้องการโดยใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตที่มีคุณสมบัติที่ดีตามต้องการ เช่น การดัดแปลงพันธุกรรมของพืชให้มีความต้านทานต่อแมลงศัตรูพืชหรือสามารถเจริญอยู่ได้ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม การดัดแปลงพันธุกรรมของจุลินทรีย์ให้สามารถผลิตเอ็นไซม์ที่เป็นประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม ถึงแม้เทคโนโลยีนี้จะมีประโยชน์หลายอย่าง แต่ก็เกิดคำถามถึงความปลอดภัยของการใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมต่อสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และสุขอนามัยของประชาชน ดังนั้นจึงมีกฎหมายและคณะทำงานทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพมากำกับดูแลตั้งแต่การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ตลอดจนถึงการบริโภคสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมและการเพาะปลูกสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม <p> <p>กฎหมายทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพประกอบด้วย <p> <p>- พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 <p>- พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 <p>- พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2544 <p>- พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 <p>- ร่างพระราชบัญญัติความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งชาติ <p>- แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety Guidelines) <p> <p>คณะทำงานทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพประกอบด้วย <p> <p>- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง <p>- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง <p>- กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา <p>- กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ <p>- กระทรวงอุตสาหกรรม ได้แก่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม <p>- กระทรวงพาณิชย์ ได้แก่ กรมการค้าต่างประเทศ <p>- คณะกรรมการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของแต่ละสถาบัน (Institutional Biosafety Committee - IBC) <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. (2551). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ) และความปลอดภัยทางชีวภาพ. ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. <br> <br>Technical Biosafety Committee. (2010). Updated Status and Perspective of Thailand on Research and Development of Modern Biotechnology and Biosafety Regulation. 3 rd ed. Pathumthani : National Center for Genetic Engineering and Biotechnology.[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
จุลชีพก่อโรค[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
จุลินทรีย์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
จุลินทรีย์อุตสาหกรรม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
สิ่งมีชีวิตต่างถิ่นทางทะเล[TU Subject Heading]
สิ่งมีชีวิตต่างถิ่น[TU Subject Heading]
จุลินทรีย์[TU Subject Heading]
สิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุ์[TU Subject Heading]
อุตสาหกรรมสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุ์[TU Subject Heading]
จุลินทรีย์, Example:สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก ทั้งพืชและสัตว์ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า [สิ่งแวดล้อม]
จุลินทรีย์เชื้อโรค, Example:จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ [สิ่งแวดล้อม]
จุลินทรีย์เฮเทอโรโทรฟิก, Example:จุลินทรีย์ที่อาศัยสารอินทรีย์เพื่อสร้าง พลังงานและการเจริญเติบโต หรือใช้อินทรีย์คาร์บอนเป็นแหล่งคาร์บอน [สิ่งแวดล้อม]
จุลินทรีย์ไม่ใช้อากาศ[สิ่งแวดล้อม]
จุลินทรีย์ดิน[สิ่งแวดล้อม]
จุลินทรีย์ออโทโทรฟิก, Example:จุลินทรีย์ซึ่งดำรงชีพและเติบโต โดยใช้สารอนินทรีย์ เช่น คาร์บอนไดออกไซด์เป็นแหล่งคาร์บอน [สิ่งแวดล้อม]
จุลินทรีย์ออโทโทรฟิก, Example:จุลินทรีย์ที่ดำรงชีพและเติบโตโดยใช้ สารอนินทรีย์ เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นแหล่งคาร์บอน [สิ่งแวดล้อม]
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในมวลน้ำในระบบนิเวศทะเล, Example:ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตจำนวนมาก ที่สำคัญได้แก่ กลุ่มของแพลงก์ตอน (Plankton) ตลอดจนพวกที่ว่ายน้ำเป็นอิสระ (Nekton) [สิ่งแวดล้อม]
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยตามพื้นท้องทะเล, Example:ประกอบด้วยแบคทีเรีย พืช และสัตว์เกือบทุกไฟลัม ในเขตที่มีน้ำขึ้นลง หรือเขตที่มีแสงส่องถึง พื้นท้องน้ำจะมีพืชขนาดใหญ่และเล็กเจริญอยู่มาก และโดยเฉพาะพื้นที่เป็นหินแข็งมักมีสาหร่ายทะเลขนาดใหญ่เกาะติดเป็น จำนวนมาก สาหร่ายเหล่านี้เป็นผู้ผลิตที่สำคัญของชายฝั่ง ส่วนในพื้นที่ทะเลที่ระดับลึกมักไม่มีแสงจึงไม่มีสิ่งมีชีวิตที่สังเคราะห์ แสงได้ แต่จะมีแบคทีเรียที่สังเคราะห์อาหารโดยกระบวนการทางเคมีซึ่งจะเป็นผู้ผลิต ที่สำคัญในทะเลลึกมาก ๆ ส่วนผู้บริโภคในเขตพื้นท้องทะเลประกอบด้วยสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นส่วนมาก [สิ่งแวดล้อม]
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยที่ผิวหน้าน้ำทะเล, Example:สิ่งมีชีวิตพวกนี้มักมีโครงสร้างที่ใช้ลอยตัว ได้อย่างดี โดยอาจมีถุงลม มีองค์ประกอบของอิออนในของเหลวในตัวที่เป็นธาตุมีน้ำหนักเบา หรือ มีการปรับตัวอื่นๆ เช่น กระพรุนไฟ จะมีทุ่นลอยซึ่งภายในมีอากาศช่วย ให้ลอยตัวได้ และหอยทากทะเลมีฟองอากาศในกระเพาะช่วยให้ตัวเบา นอกจากนี้ยังมีจิงโจ้น้ำเค็มซึ่งจะพักตัวบนผิวน้ำทะเลช่วยทำให้ไม่จม สัตว์ที่อาศัยที่ผิวหน้าน้ำเหล่านี้มักเป็นพวกที่กินสัตว์เป็นอาหาร [สิ่งแวดล้อม]
อัตราส่วนอาหารต่อจุลินทรีย์, เอฟต่อเอ็ม, Example:ในระบบเอเอส หมายถึง ปริมาณของสารอินทรีย์หรือบีโอดี (กก./วัน) ที่ป้อนเข้าถังเติมอากาศต่อจำนวนจุลชีพ (กก.) ที่มีอยู่ในถังเติมอากาศ [สิ่งแวดล้อม]
อินทรีย์ในดิน[สิ่งแวดล้อม]
จุลินทรีย์ที่ไม่ต้องการอ็อกซิย์เจน, สิ่งมีชีวิตที่อยู่ได้โดยไม่ต้องใช้อ็อกซิย์เจ็น[การแพทย์]
สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้เอง, พืชสีเขียวและโพรทิสต์บางชนิดที่สร้างอาหารได้เองโดยการสังเคราะห์ด้วยแสงหรือสังเคราะห์ทางเคมี[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้, สัตว์ทุกชนิดและโพรทิสต์แบบชนิดที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ต้องอาศัยสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
จุลินทรีย์, สิ่งที่มีชีวิตที่ขนาดเล็กมากดูด้วยตาเปล่าไม่เห็น เช่น แบคทีเรีย เห็ด ราบางชนิด ไวรัส โพรโทซัวต่าง ๆ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
จุลินทรีย์แกรมบวก[การแพทย์]
จุลินทรีย์, จุลชีพ[การแพทย์]
เชื้อที่ทำให้เกิดโรค[การแพทย์]
จุลินทรีย์, เชื้อจุลชีพ, เชื้อจุลินทรีย์, สิ่งมีชีวิตเล็กๆ, สิ่งมีชีวิตเล็กๆ[การแพทย์]
จุลชีพประจำถิ่น[การแพทย์]
พยาธิจุลชีพที่ชอบซ่อนอยู่ในเซลล์[การแพทย์]
จุลชีพที่ทำให้เกิดโรค[การแพทย์]