(แกฺล่) ว. ใกล้, เกือบ, เช่น สามลักษณะนี้ใกล้ แกล่แม้นไป่มี (โลกนิติ).
ก. จำได้แม่นยำจนไม่ต้องอาศัยตำราสอบทาน
น. คำหรือวลีที่ใช้ลงท้ายวรรค ท้ายบาท หรือท้ายบทร้อยกรอง เพื่อความไพเราะของเสียงและความหมาย หรือเพื่อแสดงว่าจบตอน เช่น นาเฮย ฤๅ บารนี แก่แม่นา โสตถิ์เทอญ.
แม่น้ำหรือลำธารสายเล็กที่ไหลลงสู่แม่น้ำหรือลำธารสายใหญ่ เช่น แควป่าสัก.
ว. คุ้น, ชิน, เช่น เจนตา, ชำนาญ เช่น เจนสังเวียน, จำได้แม่นยำ เช่น เจนทาง.
ก. สอบให้แม่นยำ, สอบให้คล่อง, แนะกันไว้ล่วงหน้า, ซ้อมซัก ก็ว่า.
ก. ย้อนกลับทำซํ้าอีกเพื่อให้แม่นยำ เช่น ทบทวนตำรา
ก. ติดตรึงใจ, จำได้แม่นยำ.
น. ชื่อตะพาบชนิด Chitra chitra Nutphand ในวงศ์ Trionychidae เป็นเต่ากระดองอ่อนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เคยพบที่แม่นํ้าแควใหญ่ จังหวัดกาญจนบุรี มีนํ้าหนักถึง ๑๔๘ กิโลกรัม ทั้งตัวและหัวสีนํ้าตาล มีลายสีนํ้าตาลอ่อน กินปลา, กริวลาย ม่อมลาย หรือ กราวด่าง ก็เรียก.
น. ผู้ที่เก่งหรือชำนาญในทางล้วงกระเป๋า, ผู้ชำนาญในการหยิบฉวยสิ่งของของผู้อื่นติดมือไปเมื่อเจ้าของเผลอ, เรียกผู้รักษาประตูฟุตบอลที่รับลูกบอลได้แม่นยำโดยลูกไม่หลุดจากมืออย่างกับมือทากาว ว่า ประตูมือกาว.
ก. ใช้สายตากำหนดเป้าหมายที่จะยิงเพื่อให้แม่น.
น. บริเวณที่แม่นํ้าตั้งแต่ ๒ สายขึ้นไปมาบรรจบกัน เช่น สามสบ คือบริเวณที่แม่น้ำบีคี่ใหญ่ ห้วยซองกาเลีย และแม่น้ำรันตี รวม ๓ สาย มาสบกัน แล้วไหลลงสู่แม่น้ำแควน้อย.
(ส้อย) น. คำหรือวลีที่ใช้ลงท้ายวรรค ท้ายบาท หรือท้ายบทร้อยกรอง เพื่อให้ครบตามจำนวน เพื่อความไพเราะของเสียงและความหมายหรือเพื่อแสดงว่าจบตอน เช่น นา เฮย ฤๅ บารนี แก่แม่นา โสตถิ์เทอญ, คำสร้อย ก็ว่า
น. บริเวณที่แม่น้ำ ๓ สายมาบรรจบกัน.
ก. ผิดจากแนวที่ถูกต้อง เช่น ปืนเสียศูนย์ ยิงได้ไม่แม่นยำ.