ว. ไม่ค่อย เช่น ไม่สู้ดี คือ ไม่ค่อยดี.
ว. ไม่มีความอดทนที่จะทำการงาน.
พูดอ้อมแอ้มพอให้ผ่านไป, พูดไม่สู้ชัดความเพื่อให้เสร็จไป, โดยปริยายหมายความว่า ทำพอให้ผ่าน ๆ ไป
พูดอ้อมแอ้มพอให้ผ่านไป, พูดไม่สู้ชัดความเพื่อให้เสร็จไป, โดยปริยายหมายความว่า ทำพอให้ผ่าน ๆ ไป
ว. ยิ่งในทางที่เลว, เก่งในทางซุกซนหรือในทางไม่สู้ดี.
น. หัวหน้า (มักใช้ในทางไม่สู้ดี).
(-ตฺรี) น. ละครต้นแบบของละครรำ เล่นกันเป็นพื้นบ้านทั่วไป มีตัวละครน้อย เดิมเป็นชายล้วน ตัวละครที่ไม่สำคัญมักไม่แต่งตัวยืนเครื่อง กระบวนรำไม่สู้งดงามประณีตนัก เรียกว่า ละครชาตรี
เรียกคนที่ใจเสาะ ไม่สู้หรือไม่อดทน ว่า ใจปลาซิว.
(ถะหฺนิมส้อย) ว. หนักไม่เอาเบาไม่สู้, เปราะบาง, ไม่หนักแน่น, (ใช้เป็นคำตำหนิ) เช่น โดนว่านิดหน่อยก็ร้องไห้ ทำเป็นแม่ถนิมสร้อยไปได้, สนิมสร้อย ก็ว่า.
ก. หมดกำลังใจไม่สู้ต่อไป.
(บดทะ-) น. พยางค์ที่ทำให้บทประพันธ์ครบคำตามฉันทลักษณ์ ไม่สู้มีความหมาย เช่น แต่งอเนกนุประการ คำ “นุ” เป็นบทบูรณ์, บาทบูรณ์ ก็เรียก.
(เบ็ดตะเหฺล็ด) ว. เล็ก ๆ น้อย ๆ หลาย ๆ อย่างรวมกัน เช่น ของเบ็ดเตล็ด, โดยปริยายหมายความว่า ไม่สู้จะสำคัญอะไรนัก เช่น เรื่องเบ็ดเตล็ด.
ก. ใจไม่สู้ดีชักจะหวาด ๆ, ใช้ว่า ปอด ก็มี.
ว. มีรายจ่ายสูงกว่ารายได้ (มักใช้แก่งบประมาณแผ่นดินที่ไม่สู่ดุล).
ก. อาการที่แสดงออกบอกให้รู้ว่าเห็นด้วย ไม่ขัด ตกลงปลงใจ เช่น ยอมตามที่สั่ง ยอมนั่ง ยอมตาย, ผ่อนผันให้ เช่น ยอมให้ทำได้ ยอมให้ไป, ไม่สู้ เช่น เรื่องนี้ผมยอมเขา.
น. ละครต้นแบบของละครรำ เดิมเล่นกันเป็นพื้นบ้านทั่วไปในภาคใต้ มีทำนองเพลงร้องเป็นการเฉพาะ ใช้ตัวละครน้อย เดิมเป็นชายล้วน ตัวนายโรงจะแต่งตัวยืนเครื่องเสมอ ตัวละครที่ไม่สำคัญไม่แต่งตัวยืนเครื่อง กระบวนรำไม่สู้ประณีตนัก.
(สะหฺนิมส้อย) ว. ถนิมสร้อย, หนักไม่เอาเบาไม่สู้, ทำเป็นเหยาะแหยะ, ทำเป็นอ่อนแอ, (ใช้เป็นคำตำหนิ), เช่น ดุว่านิดหน่อยก็น้ำตาร่วง ทำเป็นแม่สนิมสร้อยไปได้.
น. อุปนิสัยที่มีมาแต่กำเนิด เช่น มีสันดานดี มีสันดานเลว, (ปาก) มักใช้ไปในทางไม่สู้จะดี เช่น สันดานของเขาเป็นเช่นนั้น อย่าไปถือเลย.
ก. มีใจกล้าไม่ยอมแพ้ใคร เช่น เขาเป็นคนสู้คน, บางทีก็ใช้เรียกคนที่ขี้ขลาดไม่ยอมสู้ใครว่า เป็นคนไม่สู้คน.
ก. กลัว, ไม่สู้, หวาดกลัว, เช่น พอเห็นคู่ต่อสู้ก็หย็องเสียแล้ว.
ก. หลีกไม่จับตา, ไม่กล้าสบตา, ไม่สู้สายตา.
(แหฺย) ว. อาการที่ไม่สู้ใครหรือเก้ออาย.
แสดงอาการไม่สู้เต็มใจ, กระอิดกระเอื้อน ก็ว่า.