แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
123 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ไทรอยด์*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ไทรอยด์, -ไทรอยด์-
Longdo Unapproved MED - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
T4
(n)ฮอร์โมนไทรอยด์ ในกระแสเลือด
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)thyroidSyn.ต่อมไทรอยด์Thai Definition:์ต่อมไร้ท่อ มีหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ไปสู่กระแสเลือดโดยใช้สารไอโอดีนเป็นวัตถุดิบที่สำคัญNotes:(อังกฤษ)
(n)thyroid glandExample:ผลการวิจัยพบว่า คนอ้วนเป็นมะเร็งที่เต้านม ต่อมไทรอยด์ ถุงน้ำดี รังไข่ และมดลูกมากกว่าคนผอม
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. ชื่อโรคต่อมไทรอยด์โต ส่วนใหญ่เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีน, คอหอยพอก ก็ว่า.
น. ธาตุลำดับที่ ๕๓ สัญลักษณ์ I เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเทาดำเป็นเงาวาว หลอมละลายที่ ๑๑๔ ํซ. เมื่อระเหิดเป็นไอให้ไอสีม่วง เป็นธาตุสำคัญมากสำหรับต่อมไทรอยด์ หากขาดธาตุนี้จะทำให้เป็นโรคคอพอก.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
๑. -พาราไทรอยด์๒. ต่อมพาราไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ gland, parathyroid ]๓. ต่อมเคียงไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ต่อมพาราไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ parathyroid ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ตัดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ตัดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การตัดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. -ถูกตัดต่อมพาราไทรอยด์๒. -ขาดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. ภาวะถูกตัดต่อมพาราไทรอยด์๒. ภาวะขาดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. -ถูกตัดต่อมพาราไทรอยด์๒. -ขาดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. -ถูกตัดต่อมพาราไทรอยด์๒. -ขาดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ถุงหุ้มไทรอยด์อักเสบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ถุงหุ้มไทรอยด์อักเสบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-หน้าไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-หน้าไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-หน้าไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyroid ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ต่อมพาราไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ parathyroid ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ทีเอสเอช (ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์) [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotrophin; thyrotropin ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-ขาดไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-ขาดไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การบำบัดด้วยไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การผ่ากระดูกอ่อนไทรอยด์๒. การผ่าต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyroidotomy ]๓. การตัดตรวจต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
โรคไทรอยด์เป็นพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotoxicosis ๑ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
โรคไทรอยด์เป็นพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotoxicosis ๑ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. -เหตุไทรอยด์เป็นพิษ๒. -พิษฮอร์โมนต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. โรคไทรอยด์เป็นพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotoxaemia; thyrotoxemia ]๒. โรคคอพอกเป็นพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ goiter, toxic; goitre, toxic ]๓. ภาวะพิษจากไทรอยด์(ฮอร์โมน) [ มีความหมายเหมือนกับ thyrointoxication ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ชีวพิษต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
เซลล์สร้างฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
เซลล์สร้างฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-กระตุ้นต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyroid-stimulating hormone (TSH) ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-กระตุ้นต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyroid-stimulating hormone (TSH) ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (ทีเอสเอช) [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotrophin; thyrotropin ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การตัดต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ต่อมไทรอยด์อักเสบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การบำบัดด้วยไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การผ่าต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotomy ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ภาวะพิษจากไทรอยด์(ฮอร์โมน) [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotoxicosis ๓ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-สลายต่อมไทรอยด์, -ทำลายต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
โรคต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-ขาดไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ภาวะขาดไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ต่อมไทรอยด์อักเสบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-โรคหัวใจเหตุต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-เกิดในต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-เกิดในต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. -รูปคล้ายโล่ [ มีความหมายเหมือนกับ scutiform ]๒. ต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ gland, thyroid ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
กระดูกอ่อนไทรอยด์[สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕]
ต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyroid ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (ทีเอสเอช) [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotrophin; thyrotropin ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ปริมาณ (รังสี) ผูกพัน, ปริมาณรังสียังผลจากสารกัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย บางชนิดจะกระจายไปทั่วร่างกาย บางชนิดจะไปสะสมอยู่ในอวัยวะเฉพาะที่ เรียกว่า อวัยวะวิกฤติ (critical organ) เช่น ไอโอดีนจะสะสมอยู่ที่ต่อมไทรอยด์ รังสีจะมีผลต่อร่างกายจนกว่าสารกัมมันตรังสีนั้นสลายหมดไปหรือถูกขับถ่ายออกจนหมด ปกติจะคำนวณระยะเวลาการรับรังสี 50 ปีสำหรับผู้ใหญ่ และ 70 ปีสำหรับเด็ก มีหน่วยเป็น ซีเวิร์ต[นิวเคลียร์]
รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br>[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br>[นิวเคลียร์]
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด[TU Subject Heading]
ภาวะฮอร์โมนต่อมพาราไทรอยด์สูง[TU Subject Heading]
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน[TU Subject Heading]
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน[TU Subject Heading]
อิมมูโนโกลบุลินชนิดกระตุ้นต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
โรคต่อมพาราไทรอยด์[TU Subject Heading]
ต่อมพาราไทรอยด์[TU Subject Heading]
ฮอร์โมนต่อมพาราไทรอยด์[TU Subject Heading]
โปรตีนที่เกี่ยวข้องกับต่อมพาราไทรอยด์[TU Subject Heading]
การตัดต่อมพาราไทรอยด์[TU Subject Heading]
โรคต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
ต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
ไทรอยด์ฮอร์โมน[TU Subject Heading]
เนื้องอกต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
ก้อนเล็กของต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
ศัลยกรรมต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
ยารักษาโรคคอพอกเป็นพิษ, ยารักษาโรคไทรอยด์, ยารักษาโรคคอหอยพอกเป็นพิษ, ยาต้านธัยรอยด์[การแพทย์]
สารต่อต้านธัยรอยด์, แอนตีไทรอยด์[การแพทย์]
ไม่มีต่อมไทรอยด์[การแพทย์]
ยูธัยรอยด์, ต่อมไทรอยด์มีการทำงานอยู่ในเกณฑ์ปกติ, ต่อมธัยรอยด์อยู่ในภาวะปกติ[การแพทย์]
ไทรอยด์, ไทรอยด์ มักเขียนผิดเป็น ธัยรอยด์[คำที่มักเขียนผิด]
แคลซิโทนิน, ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไทรอยด์ทำหน้าที่ลดระดับแคลเซียมในเลือด[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ต่อมไทรอยด์, ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง  ลักษณะเป็น 2 พู อยู่บริเวณลำคอ ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอกซิน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ต่อมพาราไทรอยด์, ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งในร่างกายของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังอยู่บริเวณลำคอติดกับต่อมไทรอยด์  ทำหน้าที่สร้างพาราทอร์โมน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไทรอกซิน, ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไทรอยด์มีไอโอดีนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ มีหน้าที่ควบคุมเมตามอร์โฟซิสของสัตว์บางชนิด ถ้าคนขาดฮอร์โมนนี้ในวัยเด็กจะทำให้เป็นโรครีทินิซึม ในวัยผู้ใหญ่จะเป็นโรคมิกซิดีมา[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไทรอยด์ฟอลลิเคิล, กลุ่มเซลล์ในต่อมไทรอยด์ซึ่งเป็นแหล่งสร้างฮอร์โมนไทรอกซิน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
พาราทอร์โมน, ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมพาราไทรอยด์ ทำหน้าที่รักษาสมดุลของแคลเซียมและฟอสฟอรัสในร่างกายให้คงที่[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
โรคคอพอก, โรคที่เกิดจากร่างกายขาดไอโอดีนทำให้ต่อมไทรอยด์ไม่สามารถสร้างไทรอกซินได้ และ TSH จะกระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์มีขนาดโตขึ้นทำให้บริเวณคอโตกว่าปกติ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
โรคคอพอกเป็นพิษ, โรคที่เกิดจากต่อมไทรอยด์ได้รับการกระตุ้นให้สร้างฮอร์โมนมากกว่าปกติทำให้ต่อมขยายขนาดขึ้น อาการที่ปรากฏ คือ ตาคนไข้โปนและคอหอยโต[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน (ทีเอสเอช), ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ทำหน้าที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างฮอร์โมนตามปกติ อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ฮอร์โมนไทโรโทรฟิน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
คอพอกชนิดเป็นพิษ, คอพอกเป็นพิษ, คอหอยพอกชนิดเป็นพิษ, ต่อมเป็นพิษ, โรคคอหอยพอกเป็นพิษ, ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ, ต่อมไธรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ[การแพทย์]
มิกซีดีมา, การบวม; น้ำคั่งอยู่ตามเยื่อต่างๆ; อาการบวมไปทั้งตัว; มิกซีดีมา; ต่อมไทรอยด์พร่อง; โรคต่อมธัยรอยด์หย่อนสมรรถภาพ; มิย์กซีดีมา[การแพทย์]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ต่อมที่ทำหน้าที่รับเพื่อสร้างความรู้สึกทั้งหมด เหมือนต่อมไทรอยด์, แอดดรีนัล และพีทูอีทารี่ ซึ่งควบคุมการเติบโตThe Lawnmower Man (1992)
ฮอร์โมนจะทำให้ต่อมไทรอยด์ของคุณทำงานThe Right Stuff (2007)
10, 24, 39 ไปตรวจเกี่ยวกับต่อมไทรอยด์The Right Stuff (2007)
นั่นก็จะให้ข้อมูลที่ว่า การที่หัวใจเธอวายครั้งแรกมาจากต่อมไทรอยด์The Right Stuff (2007)
ระดับน้ำตาลกลูโคส นั่นนำไปสู่ต่อมไทรอยด์The Right Stuff (2007)
วัดค่าไทรอยด์ออกมาได้1.1The Right Stuff (2007)
ต่อมไทรอยด์ของเธอทำงานปกติดีThe Right Stuff (2007)
ในรูปแบบเม็ด. มันสามารถใช้รักษาอาการไทรอยด์ได้ จากการได้รับสารกัมมันตรังสีPage Turner (2008)
คุณเช็คไทรอยด์เขาหรือยังEmancipation (2008)
จนโรคไทรอยด์ต่ำกรรมพันธุ์เข้ารุม เหมือนความรักของมันฝรั่งทอด ทันใดฉันก็ถูกห้ามเข้าBorn This Way (2011)
Thyrocervical. (เส้นเลือดเกี่ยวกับไทรอยด์กับคอ)Last Temptation (2011)
ผ่านคอ ต่อมไทรอยด์ เส้นเลือดข้างคอ ซ้ายไปขวา ถูกเชือดกระจุยเลยล่ะDemons (2011)
พวกเขาได้หยุดเลือดออก เขาจะได้รับการปรับ แต พวกเขาพบว่าเนื้องอก ในต่อมไทรอยด์ของเขา.One Chance (2013)
ตอนที่พวกผู้หญิง แสดงในสัปดาห์ความรู้สึกดีจาาการทำเรื่องผิดๆ นายใช้ลูกตากลมบ๊อก เหมือนต่อมไทรอยด์เน่าๆนั่น มาเล่นหูเล่นตาใส่ฉัน อย่างกับฉันเป็นอีตัวข้างถนนWonder-ful (2013)
ใจร้ายอย่างแรงอ่ะ บางที่ลูกค้าคนนั้น อาจจะมีปัญหาด้านไทรอยด์Back from the Dead (2013)
ฉันได้รับน้ำตาลในเลือดต่ำ, สิ่งที่ ต่อมไทรอยด์The Wolf of Wall Street (2013)
ไอแวนลุงฉันเป็นมะเร็งต่อมไทรอยด์ และมียาที่เพิ่งทดลองใหม่จากเยอรมนีDeadpool (2016)
แต่พอเวลาผ่านไป หล่อนหนักเพิ่มขึ้นเป็นตัน เพราะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยกว่าปกติThe Widow Maker (2017)
เหตุผลไม่ได้มีเพียงว่าเขาแทบไม่เคย พูดอะไรเกี่ยวกับไทรอยด์เลยThe Widow Maker (2017)
ชวนไทรอยด์มาด้วยสิ ออกไปข้างนอกสักคืนน่าจะดีสำหรับเธอ นายหมายถึงมอรีนเหรอThe Widow Maker (2017)
ตอนนี้ผมกลับต้องมาคุยสัพเพเหระ กับฟิตซ์แพทริกกับไทรอยด์The Widow Maker (2017)
ต่อมไทรอยด์ของมอรีนมีปัญหา เธอเลยควบคุมน้ำหนักไม่ได้The Widow Maker (2017)
กลับโต๊ะกันดีกว่า ก่อนยัยไทรอยด์ จะสวาปามอาหารเรียกน้ำย่อยเราหมดThe Widow Maker (2017)
ขอโทษที ให้ไทรอยด์กลับมานั่งตรงนี้ ก็ได้ถ้าคุณต้องการThe Widow Maker (2017)
ไทรอยด์ก็ยังเป็นดาวเด่น ของค่ำคืนนี้ต่อไปThe Widow Maker (2017)
นั่นหมายความว่าต่อมไทรอยด์ของคุณทำงานThe Right Stuff (2007)
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ต่อมไทรอยด์
(n)ต่อมไทรอยด์
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[せん, sen](n)ต่อม<BR> <BR> eg. 甲状腺 (こうじょうせん) ต่อมไทรอยด์
甲状腺
[こうじょうせん, koujousen](n)ต่อมไทรอยด์
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ