96 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ไทรอยด์*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ไทรอยด์, -ไทรอยด์-
Longdo Unapproved MED - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
T4
(n)ฮอร์โมนไทรอยด์ ในกระแสเลือด
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)thyroidSyn.ต่อมไทรอยด์Thai Definition:์ต่อมไร้ท่อ มีหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ไปสู่กระแสเลือดโดยใช้สารไอโอดีนเป็นวัตถุดิบที่สำคัญNotes:(อังกฤษ)
(n)thyroid glandExample:ผลการวิจัยพบว่า คนอ้วนเป็นมะเร็งที่เต้านม ต่อมไทรอยด์ ถุงน้ำดี รังไข่ และมดลูกมากกว่าคนผอม
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. ชื่อโรคต่อมไทรอยด์โต ส่วนใหญ่เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีน, คอหอยพอก ก็ว่า.
น. ธาตุลำดับที่ ๕๓ สัญลักษณ์ I เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเทาดำเป็นเงาวาว หลอมละลายที่ ๑๑๔ ํซ. เมื่อระเหิดเป็นไอให้ไอสีม่วง เป็นธาตุสำคัญมากสำหรับต่อมไทรอยด์ หากขาดธาตุนี้จะทำให้เป็นโรคคอพอก.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
๑. -พาราไทรอยด์๒. ต่อมพาราไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ gland, parathyroid ]๓. ต่อมเคียงไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ต่อมพาราไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ parathyroid ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ตัดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ตัดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การตัดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. -ถูกตัดต่อมพาราไทรอยด์๒. -ขาดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. ภาวะถูกตัดต่อมพาราไทรอยด์๒. ภาวะขาดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. -ถูกตัดต่อมพาราไทรอยด์๒. -ขาดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. -ถูกตัดต่อมพาราไทรอยด์๒. -ขาดต่อมพาราไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ถุงหุ้มไทรอยด์อักเสบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ถุงหุ้มไทรอยด์อักเสบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-หน้าไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-หน้าไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-หน้าไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyroid ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ต่อมพาราไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ parathyroid ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ทีเอสเอช (ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์) [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotrophin; thyrotropin ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-ขาดไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-ขาดไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การบำบัดด้วยไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การผ่ากระดูกอ่อนไทรอยด์๒. การผ่าต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyroidotomy ]๓. การตัดตรวจต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
โรคไทรอยด์เป็นพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotoxicosis ๑ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
โรคไทรอยด์เป็นพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotoxicosis ๑ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. -เหตุไทรอยด์เป็นพิษ๒. -พิษฮอร์โมนต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. โรคไทรอยด์เป็นพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotoxaemia; thyrotoxemia ]๒. โรคคอพอกเป็นพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ goiter, toxic; goitre, toxic ]๓. ภาวะพิษจากไทรอยด์(ฮอร์โมน) [ มีความหมายเหมือนกับ thyrointoxication ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ชีวพิษต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
เซลล์สร้างฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
เซลล์สร้างฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-กระตุ้นต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyroid-stimulating hormone (TSH) ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-กระตุ้นต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyroid-stimulating hormone (TSH) ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (ทีเอสเอช) [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotrophin; thyrotropin ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การตัดต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ต่อมไทรอยด์อักเสบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การบำบัดด้วยไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การผ่าต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotomy ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ภาวะพิษจากไทรอยด์(ฮอร์โมน) [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotoxicosis ๓ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-สลายต่อมไทรอยด์, -ทำลายต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
โรคต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-ขาดไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ภาวะขาดไทรอยด์(ฮอร์โมน)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ต่อมไทรอยด์อักเสบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-โรคหัวใจเหตุต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-เกิดในต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-เกิดในต่อมไทรอยด์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. -รูปคล้ายโล่ [ มีความหมายเหมือนกับ scutiform ]๒. ต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ gland, thyroid ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
กระดูกอ่อนไทรอยด์[สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕]
ต่อมไทรอยด์ [ มีความหมายเหมือนกับ thyroid ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (ทีเอสเอช) [ มีความหมายเหมือนกับ thyrotrophin; thyrotropin ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ปริมาณ (รังสี) ผูกพัน, ปริมาณรังสียังผลจากสารกัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย บางชนิดจะกระจายไปทั่วร่างกาย บางชนิดจะไปสะสมอยู่ในอวัยวะเฉพาะที่ เรียกว่า อวัยวะวิกฤติ (critical organ) เช่น ไอโอดีนจะสะสมอยู่ที่ต่อมไทรอยด์ รังสีจะมีผลต่อร่างกายจนกว่าสารกัมมันตรังสีนั้นสลายหมดไปหรือถูกขับถ่ายออกจนหมด ปกติจะคำนวณระยะเวลาการรับรังสี 50 ปีสำหรับผู้ใหญ่ และ 70 ปีสำหรับเด็ก มีหน่วยเป็น ซีเวิร์ต[นิวเคลียร์]
รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br>[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br>[นิวเคลียร์]
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด[TU Subject Heading]
ภาวะฮอร์โมนต่อมพาราไทรอยด์สูง[TU Subject Heading]
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน[TU Subject Heading]
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน[TU Subject Heading]
อิมมูโนโกลบุลินชนิดกระตุ้นต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
โรคต่อมพาราไทรอยด์[TU Subject Heading]
ต่อมพาราไทรอยด์[TU Subject Heading]
ฮอร์โมนต่อมพาราไทรอยด์[TU Subject Heading]
โปรตีนที่เกี่ยวข้องกับต่อมพาราไทรอยด์[TU Subject Heading]
การตัดต่อมพาราไทรอยด์[TU Subject Heading]
โรคต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
ต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
ไทรอยด์ฮอร์โมน[TU Subject Heading]
เนื้องอกต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
ก้อนเล็กของต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
ศัลยกรรมต่อมไทรอยด์[TU Subject Heading]
ยารักษาโรคคอพอกเป็นพิษ, ยารักษาโรคไทรอยด์, ยารักษาโรคคอหอยพอกเป็นพิษ, ยาต้านธัยรอยด์[การแพทย์]
สารต่อต้านธัยรอยด์, แอนตีไทรอยด์[การแพทย์]
ไม่มีต่อมไทรอยด์[การแพทย์]
ยูธัยรอยด์, ต่อมไทรอยด์มีการทำงานอยู่ในเกณฑ์ปกติ, ต่อมธัยรอยด์อยู่ในภาวะปกติ[การแพทย์]
ไทรอยด์, ไทรอยด์ มักเขียนผิดเป็น ธัยรอยด์[คำที่มักเขียนผิด]
แคลซิโทนิน, ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไทรอยด์ทำหน้าที่ลดระดับแคลเซียมในเลือด[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ต่อมไทรอยด์, ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง  ลักษณะเป็น 2 พู อยู่บริเวณลำคอ ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอกซิน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ต่อมพาราไทรอยด์, ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งในร่างกายของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังอยู่บริเวณลำคอติดกับต่อมไทรอยด์  ทำหน้าที่สร้างพาราทอร์โมน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไทรอกซิน, ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไทรอยด์มีไอโอดีนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ มีหน้าที่ควบคุมเมตามอร์โฟซิสของสัตว์บางชนิด ถ้าคนขาดฮอร์โมนนี้ในวัยเด็กจะทำให้เป็นโรครีทินิซึม ในวัยผู้ใหญ่จะเป็นโรคมิกซิดีมา[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไทรอยด์ฟอลลิเคิล, กลุ่มเซลล์ในต่อมไทรอยด์ซึ่งเป็นแหล่งสร้างฮอร์โมนไทรอกซิน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
พาราทอร์โมน, ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมพาราไทรอยด์ ทำหน้าที่รักษาสมดุลของแคลเซียมและฟอสฟอรัสในร่างกายให้คงที่[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
โรคคอพอก, โรคที่เกิดจากร่างกายขาดไอโอดีนทำให้ต่อมไทรอยด์ไม่สามารถสร้างไทรอกซินได้ และ TSH จะกระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์มีขนาดโตขึ้นทำให้บริเวณคอโตกว่าปกติ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
โรคคอพอกเป็นพิษ, โรคที่เกิดจากต่อมไทรอยด์ได้รับการกระตุ้นให้สร้างฮอร์โมนมากกว่าปกติทำให้ต่อมขยายขนาดขึ้น อาการที่ปรากฏ คือ ตาคนไข้โปนและคอหอยโต[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน (ทีเอสเอช), ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ทำหน้าที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างฮอร์โมนตามปกติ อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ฮอร์โมนไทโรโทรฟิน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
คอพอกชนิดเป็นพิษ, คอพอกเป็นพิษ, คอหอยพอกชนิดเป็นพิษ, ต่อมเป็นพิษ, โรคคอหอยพอกเป็นพิษ, ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ, ต่อมไธรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ[การแพทย์]
มิกซีดีมา, การบวม; น้ำคั่งอยู่ตามเยื่อต่างๆ; อาการบวมไปทั้งตัว; มิกซีดีมา; ต่อมไทรอยด์พร่อง; โรคต่อมธัยรอยด์หย่อนสมรรถภาพ; มิย์กซีดีมา[การแพทย์]
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ต่อมไทรอยด์
(n)ต่อมไทรอยด์
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[せん, sen](n)ต่อม<BR> <BR> eg. 甲状腺 (こうじょうせん) ต่อมไทรอยด์
甲状腺
[こうじょうせん, koujousen](n)ต่อมไทรอยด์
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ