ว. โน้น, เช่นโน้น, อย่างโน้น.
ส. คำใช้แทนนามที่อยู่ไกลออกไป เช่น ที่โน่นมีอากาศดี.
ว. ใช้ประกอบนามที่อยู่ไกลออกไป เช่น บ้านโน้นมีงานรื่นเริง.
น. ท่อนความที่มีคำกริยาวิเศษณ์ที่พ่วงบุรพบทเข้าขยายกริยา เช่น ม้าวิ่งไปข้างโน้น ความที่ขีดสัญประกาศนั้นเป็นกริยาวิเศษณ์วลี.
ว. ลักษณะที่ไปอย่างไม่เรียบร้อยคล้ายกับมีของถ่วงอยู่ข้างหนึ่ง เช่น อุ้มลูกกะเตง ๆ พายเรือกะเตง ๆ, กะเตงเรง ก็ว่า, ลักษณะที่ไปอย่างเรื่อยเปื่อย เช่น วัน ๆ ได้แต่กะเตง ๆ ไปโน่นไปนี่.
ก. เก็บเล็กผสมน้อย, ทำอะไรที่ประกอบด้วยส่วนเล็กส่วนน้อย โน่นบ้างนี่บ้าง จนสำเร็จเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา.
(แกฺว่ง) ก. อาการที่เคลื่อนไหวไปทางโน้นทีทางนี้ทีโดยที่โคนหรือต้นของสิ่งนั้นติดอยู่กับสิ่งอื่น, โดยปริยายหมายความว่า ไม่อยู่กับที่, ไม่อยู่ในแนว, เช่น จิตแกว่ง.
น. ผู้ถือเป็นกลางไม่เข้าข้างฝ่ายโน้นฝ่ายนี้ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น, ผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย, ผู้ทำการค้าระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภค.
ก. อาการที่อยู่ไม่สุขจับโน่นฉวยนี่หรือเล่นไม่เป็นเรื่องเป็นราวทำให้เดือดร้อนเสียหาย.
ก. เที่ยวไปที่โน่นที่นี่ตลอดเวลาไม่อยู่นิ่ง.
(ถะเหฺลถะไหฺล) ว. เที่ยวแวะโน่นแวะนี่ เช่น เลิกงานแล้วอย่าเถลไถล.
ก. อาการที่นกเป็นต้นเอียงปีกร่อนลง, อาการที่ของแบน ๆ เช่นกระเบื้องหรือโปสต์การ์ด แฉลบหรือร่อนไปเฉียง ๆ, โดยปริยายเรียกอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วัน ๆ ไม่เห็นทำการทำงาน ได้แต่แถไปโน่นไปนี่.
ก. ไปไหน ๆ เพื่อความเพลิดเพลินตามสบาย เช่น ไปเที่ยวงานกาชาด, กิริยาที่ไปที่โน่นที่นี่เรื่อยไป เช่น ฉันเที่ยวตามหาเธอทั้งวัน, กิริยาที่ไปหรือทำในหลายที่ทั่ว ๆ ไป ใช้ประกอบกับกริยาอื่น ผู้พูดพูดในทำนองไม่เห็นด้วยว่าควรทำ เช่น เรื่องนี้เป็นความลับ อย่าเที่ยวพูดไปนะ.
ชื่อดาวหมู่หนึ่ง เช่น โน่นดาวธงตรงหน้าอาชาไนย (อภัย)
ว. มัวทำโน่นนิดนี่หน่อย, อ้อยอิ่ง, ตะบิดตะบอย, เช่น ทำพิรี้พิไร มัวพิรี้พิไร.
ว. อาการที่ร่างกายบางส่วนเคลื่อนไหวไปมาข้างโน้นทีข้างนี้ทีตามจังหวะการเดินเป็นต้น เช่น เดินย้ายสะโพก.
ก. เที่ยวไปหลายแห่งไม่ประจำเป็นตำแหน่งแห่งที่ (ใช้แก่การค้าย่อย หรือรับจ้างขนส่งซึ่งไม่ประจำที่) เช่น เร่ขายของ, เตร่, เดินไปมาไม่เป็นตำแหน่งแห่งที่, เช่น เร่ไปคุยที่โต๊ะโน้นบ้างโต๊ะนี้บ้าง, อาการที่หันเหและเวียนเคลื่อนที่จากจุดเดิมไปสู่อีกที่หนึ่ง เช่น เดินกลับบ้านเห็นคนเล่นหมากรุกก็เลยเร่ไปเล่นด้วย.
ก. เสียคุณลักษณะของผู้ใหญ่ ทำให้ไม่เป็นที่เคารพเชื่อถือของผู้อื่น เช่น เธอมาขอให้ฉันไปตกลงหมั้นกับฝ่ายโน้นเรียบร้อยแล้ว มาเปลี่ยนใจเสียเช่นนี้ ฉันก็เสียผู้ใหญ่.