ก. ท่องบ่น เช่น เล่าเรียนคาถาอาคม, ศึกษาหาความรู้ เช่น เขาเล่าเรียนมา อย่าไปเถียงเขา, เรียกเงินที่ต้องชำระเพื่อศึกษาหาความรู้ ว่า ค่าเล่าเรียน.
ใช้ในความว่า ลืมความรู้ที่ได้เล่าเรียนมาหมด ก็มี.
ว. ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมามาก.
น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์, สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้าน
บังคับให้ทำงานให้มากขึ้น เช่น เคี่ยวเข็ญให้ขยันหมั่นเพียรในการเล่าเรียน.
โดยปริยายหมายความว่า ปล่อยด้วยกิริยาอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ทิ้งลูกทิ้งเมีย ทิ้งบ้าน ทิ้งการเล่าเรียน ทิ้งเพื่อน ทิ้งกันเสียไกล พูดทิ้งไว้ที.
(เทิม) น. ระยะเวลาที่กำหนดไว้เป็นตอน ๆ, ภาคเรียน, เรียกค่าเล่าเรียนที่เก็บในภาคเรียนหนึ่ง ๆ ว่า ค่าเทอม.
(ทุระ-) น. หน้าที่การงานที่พึงกระทำ, กิจในพระศาสนา มี ๒ อย่าง คือ การเล่าเรียน เรียกว่า คันถธุระ และ การปฏิบัติทางใจ เรียกว่า วิปัสสนาธุระ
น. ผู้ศึกษาเล่าเรียน, ผู้รับการศึกษาจากโรงเรียน.
ศิษย์ที่เล่าเรียนอยู่ในสำนัก, ผู้อาศัย.
น. ผู้เล่าเรียน, ผู้รู้ธรรม, ผู้คงแก่เรียน, เปรียญ.
(ปะริยัด) น. การเล่าเรียนพระไตรปิฎก.
(ปะริยัดติทำ) น. ธรรมที่จะต้องเล่าเรียนได้แก่พระไตรปิฎก.
น. ผู้มีความรู้เพราะได้สดับตรับฟังหรือศึกษาเล่าเรียนมามาก.
น. ความเป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก, ความเป็นผู้ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก.
น. การเล่าเรียนวิชา, เวทมนตร์.
โดยปริยายหมายความว่า ระดับสูงสุด เช่น เพดานค่าเล่าเรียน.
น. ผู้ศึกษาเล่าเรียนหรือผู้เยาว์วัยซึ่งอยู่ในความดูแลคุ้มครองของอาจารย์, ศิษย์ หรือ ลูกศิษย์ลูกหา ก็ว่า.
น. ความรู้, ความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝน, เช่น วิชาภาษาไทย วิชาช่าง วิชาการฝีมือ.
น. อาคารที่ปลูกไว้ในวัดสำหรับทำบุญและศึกษาเล่าเรียนเป็นต้น.
(สิก-สก, สิกสะกะ) น. ผู้เล่าเรียน
น. การเล่าเรียน ฝึกฝน และอบรม.
ก. สอบความรู้ที่เล่าเรียนมาว่าได้ตามมาตรฐานของหลักสูตรแต่ละขั้นหรือทั้งหมด.
การศึกษา, การเล่าเรียน, เช่น ปริยัติสิกขา ปฏิบัติสิกขา.
ก. ใส่ไว้ในใจ, จดจำ, เช่น จำใส่ใจไว้ให้ดีนะ, เอาใจจดจ่อ เช่น นักเรียนควรใส่ใจในการศึกษาเล่าเรียนให้มาก.
(อุกคะหะ-) น. การเล่าเรียน.