การชุบเคลือบผิวโดยไม่ใช้ไฟฟ้า[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การชุบเคลือบผิวด้วยไฟฟ้า[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การชุบเคลือบผิวด้วยโลหะ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การชุบเคลือบผิวโลหะ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เครื่องเร่งอิเล็กตรอน ที่อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงด้วยสนามไฟฟ้า มีสองแบบคือ แบบที่อิเล็กตรอนถูกควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าสถิต และแบบที่ควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ แบบแรกให้พลังงานของอิเล็กตรอนต่ำกว่าแบบหลัง เครื่องเร่งชนิดนี้เหมาะสำหรับงานวิจัยทางฟิสิกส์ และการปรับปรุงคุณภาพวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ เช่น งานเคลือบผิววัตถุและงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ, Example: [นิวเคลียร์]
การชุบเคลือบผิวด้วยโครเมียม[TU Subject Heading]
สารเคลือบผิว[TU Subject Heading]
สารเคลือบผิวที่กินได้[TU Subject Heading]
การชุบเคลือบผิวด้วยไฟฟ้า[TU Subject Heading]
การชุบเคลือบผิวด้วยทอง[TU Subject Heading]
การชุบเคลือบผิวโลหะ[TU Subject Heading]
สารเคลือบผิวป้องกัน[TU Subject Heading]
อุตสาหกรรมสารเคลือบผิวป้องกัน[TU Subject Heading]
เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เป็นเครื่องเร่งอนุภาคแบบหนึ่ง ใช้เร่งอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนจะถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงภายใต้สนามไฟฟ้าสถิตย์(electrostatic field) หรือสนามไฟฟ้าสลับย่านความถี่คลื่นวิทยุ (Radio frequency field) เครื่องเร่งอนุภาคทั้งสองแบบ ให้อิเล็กตรอนที่มีช่วงพลังงานแตกต่างกัน ในเครื่องเร่งแบบไฟฟ้าสถิตย์ (electrostatic accelerator)หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องเร่งแบบกระแสตรง (DC-accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรง ภายใต้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้า 2 ขั้ว เครื่องเร่งชนิดนี้สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-0.5 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ นิยมใช้ในงานเคลือบผิววัตถุ การปรับปรุงคุณภาพวัสดุ เช่น ฉนวนหุ้มสายไฟ การวัลคาไนซ์ของน้ำยาง ในเครื่องเร่งแบบใช้สนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ (high frequency accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งผ่านท่อทรงกระบอกซึ่งเรียงกันเป็นเส้นตรง และต่อกับแหล่งกำเนิดศักดาไฟฟ้าซึ่งสลับขั้วด้วยความถี่ในย่านของคลื่นวิทยุ เครื่องเร่งนี้สามารถเร่งลำอิเลคตรอนให้มีพลังงานสูงในช่วง 5-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ เหมาะสำหรับงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ และงานวิจัยทางฟิสิกส์[พลังงาน]
วิธีเคลือบผิวแก้วด้วยซิลิโคน[การแพทย์]
คิวทิเคิล, ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอพิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวทิน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สี, สารสี, สารมีสีที่ทำให้วัตถุอื่นมีสีได้ ไม่ละลายในตัวทำละลาย แต่สามารถแขวนลอยอยู่ได้ ใช้ทำสีเคลือบผิว ผงสีแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัวในการดูดกลืนและสะท้อนแสงสี จึงทำให้เห็นเป็นสีต่าง ๆ ได้ ในเซลล์พืชหรือสัตว์จะพบสารสีได้ เช่น พบที่คลอโรฟิลล์ เป็นสารสีเขียวซึ่งท[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สิ่งนำสี, ส่วนที่เป็นของเหลวของสีเคลือบผิว ประกอบด้วยสารสำคัญ 2 ชนิด คือ ตัวยึดเกาะและตัวทำละลาย ตัวยึดเกาะทำหน้าที่ยึดอนุภาคของผงสีและพื้นผิว ตัวทำละลายเป็นส่วนที่จะระเหยไป[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]