ก. นอนอืดอย่างเกียจคร้าน.
ว. ไม่ตอบ, ไม่ขานรับ, เช่น เรียกแล้วก็ยังไม่หือไม่อือ.
อ. คำที่เปล่งออกมาเป็นการตอบรับหรือรับรู้.
ว. ชื้น เช่น เกลือเอือด ผ้าเอือด.
น. ดินที่มีธาตุเกลือปนอยู่และขึ้นเป็นขุยขาวที่หน้าดิน.
น. พยาธิในท้องชนิดหนึ่ง เช่น ลางคาบมีตืดมีเอือนในท้องนั้น (ไตรภูมิ).
น. ลักษณะของเนื้อมะพร้าวแก่ที่บาง ขรุขระเหมือนผิวมะกรูด มีรสออกหวานไม่มัน เรียกว่า มะพร้าวเป็นเอือน หรือ มะพร้าวเอือนกิน.
ว. เรียกลักษณะมะพร้าวเป็นเอือน ว่า มะพร้าวเอือนกิน.
ว. เบื่อหน่ายในสิ่งที่ซํ้า ๆ ซาก ๆ มากเกินไป.
น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใช้ปลาแห้งหรือหัวปลาแห้งเป็นต้นต้มกับหัวหอม ส้มมะขามหรือใบมะขามอ่อน แล้วเติมเกลือให้ออกรสเปรี้ยวเค็ม, ต้มโคล้ง ก็เรียก.
(-โคฺล้ง) น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใช้ปลาแห้งหรือหัวปลาแห้งเป็นต้นต้มกับหัวหอม ส้มมะขามหรือใบมะขามอ่อน แล้วเติมเกลือ ให้ออกรสเปรี้ยวเค็ม, โฮกอือ ก็เรียก.
น. สระที่มีเสียงยาว ในภาษาบาลีได้แก่ อา อี อู เอ โอ, ในภาษาสันสกฤตได้แก่ อา อี อู ฤๅ ฦๅ เอ ไอ โอ เอา, ในภาษาไทยได้แก่ อา อี อือ อู เอ แอ โอ ออ เออ เอีย เอือ อัว.
(รัดสะสะหฺระ) น. สระที่มีเสียงสั้น ในภาษาบาลีได้แก่ อ อิ อุ, ในภาษาสันสกฤตได้แก่ อ อิ อุ ฤ ฦ, ในภาษาไทยได้แก่ อ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ อำ ใอ ไอ เอา.
(ออ) พยัญชนะตัวที่ ๔๓ เรียกว่า ออ อ่าง เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น, ใช้นำตัว ย ให้ผันอย่างอักษรกลาง มี ๔ คำ คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก, ใช้เป็นรูปสระ ออ เช่น รอ ปอ และประสมเป็นสระ อือ เอือ เออ เช่น มือ เถือ เธอ.
ก. เบื่อหน่าย, เอือมระอา.