ประสาทสรีรวิทยา[TU Subject Heading]
แง่สรีรวิทยา[TU Subject Heading]
ผลกระทบทางสรีรวิทยา[TU Subject Heading]
สรีรวิทยา[TU Subject Heading]
สรีรวิทยาพืช[TU Subject Heading]
จิตสรีรวิทยาผิดปกติ[TU Subject Heading]
จิตสรีรวิทยา[TU Subject Heading]
สรีรวิทยาการหายใจ[TU Subject Heading]
สรีรวิทยาทางเดินปัสสาวะ[TU Subject Heading]
สรีรวิทยาทางสัตวแพทยศาสตร์[TU Subject Heading]
เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะในร่างกายที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน โดยการตรวจวัดสารกัมมันตรังสีบางชนิด ซึ่งให้แก่ร่างกายในรูปของสารเภสัชรังสี เพื่อใช้ในการตรวจวัดเชิงปริมาณของขบวนการทางชีวเคมีในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ไอโซโทปรังสีที่ใช้จะเป็นชนิดที่ปลดปล่อยโพซิตรอนออกมา เช่น ออกซิเจน-15 ไนโตรเจน-13 และคาร์บอน-11 โพซิตรอนที่ปล่อยออกมานี้จะเข้าทำปฏิกิริยาประลัย (annihilation) เกือบจะทันทีทันใดกับอิเล็กตรอนที่โคจรอยู่รอบนิวเคลียสในอะตอมของสาร ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสารเภสัชรังสีนั้น และมีรังสีแกมมาพลังงาน 511 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ปลดปล่อยออกมาพร้อมกันในสองทิศทางตรงกันข้าม สามารถตรวจวัดได้ด้วยหัววัดรังสีที่อยู่ตรงข้ามกัน จากหัววัดหลายๆ หัวที่ล้อมรอบคนไข้ ทำให้ทราบตำแหน่งที่ผิดปกติในร่างกายได้ โดยการแปลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ เนื่องจากส่วนใหญ่ของไอโซโทปรังสีที่ใช้กับเทคนิคนี้ เป็นไอโซโทปของธาตุที่เป็นส่วนประกอบของอินทรีย์วัตถุ จึงทำให้ PET มีประโยชน์ในการศึกษากระบวนการทางสรีรวิทยาและชีวเคมีที่ผิดปกติด้วย ในทางปฏิบัติ PET จำเป็นต้องใช้ไอโซโทปรังสีที่ผลิตขึ้นจากการระดมยิงที่เป้า ด้วยโปรตรอนพลังงานสูงภายในเครื่องไซโคลตรอน การศึกษาโดยใช้ PET จะมุ่งเน้นไปยังระบบประสาทส่วนกลางเป็นหลัก ด้วยการวัดตัวแปรเสริมอื่นๆ ประกอบ เช่น การไหลเวียนของเลือด กระบวนการสร้างและสลายน้ำตาลกลูโคส และการเผาผลาญออกซิเจน จึงมีความเป็นไปได้ที่จะหาสมุฏฐานของโรคลมบ้าหมู หรือหาขนาดที่แน่นอนของบริเวณที่พิการในสมองได้ ในการศึกษาที่เกี่ยวกับหัวใจและหน้าที่ของหัวใจ การตรวจโดยใช้ PET จะเป็นวิธีที่เฉพาะเจาะจง และให้ผลดีกว่าการตรวจสอบโดยวิธีอื่นๆ[พลังงาน]
เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะภายในร่างกายที่ต้องการตรวจ โดยการให้สารเภสัชรังสีแก่คนไข้ แล้วทำการตรวจวัดรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากสารเภสัชรังสีนั้น ด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า "กล้องถ่ายแกมมา (gamma camera)" ซึ่งมีทั้งแบบที่หมุนได้ และแบบอยู่กับที่รอบตัวคนไข้ จากนั้นคอมพิวเตอร์จะแปลข้อมูลที่ได้ออกมาให้เห็นเป็นภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี โดยสร้างภาพตัดเนื้อเยื่อของอวัยวะนั้น ทำให้สามารถบอกความผิดปกติของอวัยวะได้ โดยดูการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี แม้มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยก็สามารถตรวจวัดได้ เทคนิคSPECT สามารถตรวจอวัยวะหรือระบบอวัยวะใดๆ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับสารเภสัชรังสีที่ให้ เป็นวิธีที่ใช้ในการบอกตำแหน่งของความผิดปกติ ทั้งทางกายภาพและทางสรีรวิทยาในเนื้อเยื่อที่มีชีวิต ซึ่งเป็นข้อดีทางเทคนิคนี้ จึงนำไปใช้ในการวินิจฉัยโรคหัวใจ โรคลมบ้าหมู และโรคมะเร็ง ข้อได้เปรียบของเทคนิคนี้ ต่อ PET คือ ไม่ต้องใช้เครื่องไซโคลตรอนในการผลิตไอโซโทปรังสี[พลังงาน]
ไบโอเซ็นเซอร์, อุปกรณ์ตรวจจับ บันทึก แสดง หรือส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา โดยที่อุปกรณ์ดังกล่าวทำงานโดยอาศัยสารชีวภาพ ในขั้ตอนใดขั้นตอนหนึ่งของการตรวจวัดสารเคมีหรือชีวโมเลกุลจำเพาะชนิดใดชนิดหนึ่ง[เทคโนโลยีชีวภาพ]
ว่องไวทางสรีรวิทยา[การแพทย์]
การปรับตัวทางสรีรภาพ, การปรับตัวทางสรีรวิทยา[การแพทย์]
การเปลี่ยนแปลงทั้งทางสรีรวิทยาและทางความประพฤติ[การแพทย์]
การมีหินปูนเกาะทางสรีรวิทยา[การแพทย์]
ปิดได้สนิท, การปิดทางสรีรวิทยา[การแพทย์]
ภาวะทางสรีรวิทยา, ลักษณะเฉพาะของแต่ละคน[การแพทย์]
ขนาดทางสรีรวิทยา[การแพทย์]
เครื่องมือที่ใช้ในทางสรีรวิทยา[การแพทย์]
สรีรวิทยาไฟฟ้า, สรีรวิทยาของสมองเกี่ยวกับกระแสไฟฟ้า[การแพทย์]
สรีรวิทยาของเด็กในครรภ์และรก[การแพทย์]
เฉื่อยทางสรีรวิทยา[การแพทย์]
ดีซ่านชนิดธรรมดา, ดีซ่านสรีรวิทยา, ตัวเหลือง, ตัวเหลืองตามสรีรภาพ[การแพทย์]
เครื่องมือสรีรวิทยา[การแพทย์]
ข่าวสารทางสรีรวิทยา[การแพทย์]
การเคลื่อนไหวเชิงสรีรวิทยา, เคลื่อนไหวทุกทิศทาง[การแพทย์]