(-สวง) ก. บูชาเทวดาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ด้วยเครื่องสังเวยและดอกไม้ธูปเทียนเป็นต้น.
(-สวง) ก. บน, บูชา, เซ่น, สรวงเส ก็ใช้.
ก. เซ่นสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามที่ตนได้บนบานไว้, ใช้บน ก็ว่า.
ก. แย่งเครื่องเซ่นสรวงวิญญาณบรรพบุรุษหรือผู้ที่ตายไปแล้ว ซึ่งเรียกว่า “เปรต” ในงานทำบุญวันสารทเดือน ๑๐ เมื่อเสร็จพิธีเซ่นแล้ว ถือว่าเครื่องเซ่นเหล่านั้นเป็นมงคล.
ก. ทำให้ฟ้าปั่นป่วน เช่น ไพรฦกแหล่งหล้าลั่น ฦๅถึง สรวงฤๅ เสียงอัคนีศรตึง ตื่นฟ้า (ตะเลงพ่าย).
ก. บูชา เช่น บวงเทพทุกเถื่อนถํ้า มณฑล ทวีปเอย (นิ. นรินทร์), มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น บนบวง บวงสรวง บำบวง.
ก. บนบาน, เซ่นสรวง, บูชา, เช่น สนธยากรภุมบุษ ปบังคมบำบวงสรณ พระไทรบริมณ ฑลเทพยสิงศักดิ์ (อนิรุทธ์).
น. การบูชาของพราหมณ์อย่างหนึ่ง, การเซ่นสรวงด้วยวิธีฆ่าคนหรือสัตว์เป็นเครื่องบูชา.
ก. เซ่นสรวงด้วยวิธีฆ่าคนหรือสัตว์เป็นเครื่องบูชา.
(-พะลี) น. เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปแล้ว.
(พะลี) น. การบวงสรวง, เครื่องบวงสรวง, ส่วย, การบูชา, (ตามแบบมี ๕ คือ ญาติพลี สงเคราะห์ญาติ, อติถิพลี ต้อนรับแขก, เปตพลี ทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย, ราชพลี ถวายเป็นหลวง มีเสียภาษีอากรเป็นต้น, เทวตาพลี ทำบุญอุทิศให้เทวดา, และแบ่งเป็น ๒ อย่าง คือ ธรรมพลี อุทิศกุศลให้ และ อามิสพลี ให้สิ่งของ).
(พฺลี) ก. เสียสละ เช่น พลีชีพเพื่อชาติ, บวงสรวงเชิญเอามา (ใช้แก่ยาสมุนไพร) เช่น ไปพลียาที่ต้นเทียน คือ ไปบวงสรวงเก็บต้นเทียนหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นเทียนมาทำยารักษาโรค.
(เมด) น. การเซ่นสรวง, การบูชายัญ, มักใช้เป็นส่วนหลังสมาส เช่น อัศวเมธ.
(ยันยะ-) น. การเซ่น, การบูชา, การเซ่นสรวงโดยมีการฆ่าสัตว์หรือคนเป็นเครื่องบูชาเรียกว่า บูชายัญ.
น. การเซ่นสรวงบูชาของพราหมณ์.
น. พิธีเซ่นสรวงบูชาของพราหมณ์.
(-ชะกะ) น. ผู้ที่ทำพิธีบูชาหรือพิธีบวงสรวงแทนผู้อื่น.
(ยิดถะ) น. การบูชา, การเซ่นสรวง.
ก. บวงสรวง, เซ่นสรวง, เช่น สังเวยเทวดา.
น. นํ้าคั้นจากต้นของไม้เถาชนิดหนึ่ง กรองแล้วนำมาผสมกับเนยใส เพื่อใช้เซ่นสรวงพระอินทร์และเทพอื่น ๆ.
การบูชายัญ, การเซ่นสรวงทั้งปวง.
(โหระ-) น. พราหมณ์พวกหนึ่งมีหน้าที่สวดสดุดีและอาราธนาเทพต่าง ๆ ให้มาร่วมในพิธีบูชาบวงสรวง.
(อัดจะ-) น. การเซ่นสรวง, การถวาย, การบูชานับถือ.
(อิดชะยา) น. การบูชา, การเซ่นสรวง.
(อิดสะ-) น. การบูชา, การเซ่นสรวง.