ผลผลิตการแยกสลายด้วยรังสี, สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีสารใดๆ เช่น การฉายรังสีอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และ เกิดการแยกสลาย ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียรและทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหารได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง[นิวเคลียร์]
วิตามินเอ[TU Subject Heading]
ภาวะพร่องวิตามินเอ[TU Subject Heading]
วิตามินบีรวม[TU Subject Heading]
วิตามินบี 12[TU Subject Heading]
วิตามินบี 6[TU Subject Heading]
วิตามินซี[TU Subject Heading]
วิตามินดี[TU Subject Heading]
วิตามินอี[TU Subject Heading]
วิตามิน[TU Subject Heading]
เรดิโอไลติกโปรดักส์, คือ สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีอาหาร เมื่อรังสีทะลุผ่านอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และเกิดปฏิกิริยาเรดิโอไลซิส ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียร และไปทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร ได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง ซึ่งเรียกโดยรวมว่า เรดิโอไลติก โปรดักส์ การเกิดอนุมูลอิสระนอกจากจะเกิดจากการใช้รังสีแล้ว ยังเกิดจากการใช้ความร้อน เช่น การต้ม การทอด การอบ การย่าง และการปิ้ง และอนุมูลอิสระที่เกิดจากการใช้ความร้อนนี้ทำให้เกิดสารประกอบต่างๆ ที่มี โมเลกุลเล็กลงได้เช่นกัน แต่เรียกโดยรวมว่าเทอร์โมไลติกโปรดักส์ และเมื่อเปรียบเทียบกับเรดิโอไลติกโปรดักส์ พบว่า สารประกอบส่วนใหญ่เป็นชนิดเดียวกัน และเป็นสารประกอบที่ตรวจพบได้ในอาหารที่ไม่ได้ฉายรังสี[พลังงาน]
กระชาย , เลือกรากที่สด อวบอ้วน เนื้อจะมีน้ำมาก กลิ่นหอม รสซ่า ล้างให้สะอาดก่อนใช้ ขูดเอาเปลือกออก แล้วล้างอีกครั้ง สรรพคุณ ช่วยไล่แก๊ส, ช่วยในระบบการย่อยอาหาร บรรเทาอาการจุกเสียดกระเพาะอาหาร กระชายยังอุดมด้วยวิตามิน เอ, บี12 และแคลเซียมด้วย[อื่นๆ]
สิ่งต่อต้านวิตามินดี[การแพทย์]
วิตามินซี, ไวตามินซี, กรดแอสคอบิก, กรดแอสคอร์บิค, วิตะมินซี, กรดแอสคอบิค, แอสคอบิคแอซิด, กรดแอสคอร์บิก, แอสคอร์บิกแอซิด, [การแพทย์]
วิตามิน, ภาวะพร่อง; วิตามิน, ภาวะขาด; ขาดไวตามิน; โรคขาดวิตามิน; ขาดวิตะมิน[การแพทย์]
วิตะมินบีสิบสอง, โคบาลามิน, วิตามินบี12, วิตะมินบี12[การแพทย์]
วิตามินบี12, ไซยาโนโคบาลามิน, ไวตามินบี12, วิตะมินบี12, ไซยาโนโคบาลามิน, ไซอาโนโคบาลามีน[การแพทย์]
กรดโฟลิก, วิตามินบี 9, วิตามินชนิดหนึ่งในกลุ่มของวิตามินบีรวม สูตรเคมีคือ C19H19N7O6 เป็นผลึกสีเหลือง ละลายในน้ำได้เล็กน้อย ถ้าขาดวิตามินชนิดนี้จะทำให้เซลล์เม็ดเลือดแดงไม่เจริญเต็มที่ เป็นโรคโลหิตจางชนิดหนึ่ง[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
กรดแอสคอร์บิก, วิตามิน C สูตรเคมีคือ C6H8O6 ถ้าร่างกายขาดวิตามินชนิดนี้จะทำให้เหงือกบวม เลือดออกตามไรฟัน ฟันไม่แข็งแรง กระดูกอ่อน และเส้นเลือดเปราะ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แคโรทีน, สารไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัวมีในพืชทั่วไป สูตรเคมีคือ C40H56 มีสีเหลือง ส้ม หรือแดงส้ม เมื่อกินเข้าไปจะถูกเปลี่ยนเป็นวิตามิน A ในตับ ถ้าร่างกายขาดวิตามินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคเกี่ยวกับตา เช่น นัยน์ตามัว หรือตาบอดกลางคืน ถ้าเด็กขาดวิตามินชนิดนี้จะทำให้ร่าง[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไซยาโนโคบาลามิน, วิตามินบี 12, วิตามิน B12 สูตรเคมีคือ C63H90CoN14O14P เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและแอลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตามินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมียซึ่งเซลล์เม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีเฮโมโกลบินน้อย[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไนอะซีน, วิตามินบี 3, วิตามิน B ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C6H5NO2 เป็นผลึกสีขาว ละลายได้ในน้ำร้อนและแอลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตามินนี้จะทำให้ผิวหนังแห้งและอักเสบเมื่อถูกแสงแดด ทางเดินอาหารขาดน้ำย่อย ประสาทหลอน คลุ้มคลั่ง[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไบโอทิน, วิตามินบี 7, วิตามิน B ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C10H16O3N2S ใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสำหรับเลี้ยงจุลินทรีย์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไพริดอกซิน, วิตามินบี 6, วิตามิน B6 สูตรเคมีคือ C8H11NO3 เป็นผลึกรูปเข็มไม่มีสี ถ้าร่างกายขาดวิตามินชนิดนี้จะทำให้เกิดการบวม คันผิวหนัง ผมร่วง ปวดตามมือตามเท้า ประสาทเสื่อม[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไรโบเฟลวิน, วิตามินบี 2, วิตามิน B2 สูตรเคมีคือ C17H20N4O6 ผลึกสีส้ม ละลายได้ในน้ำ เป็นเอนไซม์เกี่ยวกับการสันดาปสารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรตและกรดอะมิโน รวมทั้งการสร้างโปรตีน ถ้าขาดวิตามินนี้ จะทำให้เป็นแผลตามมุมปาก ลิ้นบวม อ่อนเพลีย ระบบย่อยอาหารไม่ทำงาน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
วิตามิน, สารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแก่ร่างกายแต่ก็จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและความสมบูรณ์ของร่างกาย ถ้าขาดจะทำให้เกิดโรคต่าง ๆ วิตามินที่ค้นพบแล้วมีหลายชนิด เช่น วิตามิน A, B, C, D, E, K เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สารอาหาร, สารที่สิ่งมีชีวิตนำเอาไปใช้ในกระบวนการดำรงชีวิต สารอาหารมี 6 ชนิด คือ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน เกลือแร่ น้ำ และ วิตามิน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แอลฟาฟิลโลควิโนน, วิตามิน K เป็นวิตามินที่จำเป็นสำหรับร่างกาย ถ้าร่างกายขาดวิตามินชนิดนี้จะทำให้เลือดแข็งตัวช้าเมื่อมีบาดแผลเกิดขึ้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไทอามีน, วิตามินบี 1, วิตามิน B1 สูตรเคมีคือ C12H17ON4S เป็นผลึกสีขาว ละลายได้ดีในน้ำและแอลกอฮอล์ มีมากในยีสต์ เมล็ดข้าวที่ไม่ขัดสี ตับ ไข่ นม และผลไม้ ถ้าร่างกายขาดวิตามินนี้จะเป็นโรคเหน็บชา[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เนยเทียม, เนยที่ทำจากน้ำมันพืชหรือน้ำมันสัตว์ แล้วเติมน้ำนมและสารปรุงแต่งอาหารบางชนิด เช่น สี เกลือ วิตามิน เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ข้าวกล้อง, ข้าวที่กะเทาะเปลือกออกแล้ว แต่ยังไม่ได้ผ่านการขัดสีให้ขาว เป็นข้าวที่ยังมีเยื่อซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยวิตามิน B1 ข้าวชนิดนี้ถ้ากะเทาะเปลือกด้วยการตำเรียก ข้าวซ้อมมือ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ข้าวนึ่ง, ข้าวเปลือกนำมานึ่งแล้วทำให้แห้งและนำไปสี เป็นการสงวนรักษาวิตามิน B1[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
โรคเหน็บชา, โรคที่มีอาการชาบริเวณปลายเท้าและปลายมือ โรคนี้เกิดขี้นเนื่องจากร่างกายขาดวิตามิน B1[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แคลซิเฟอรอล, วิตามิน D2 สูตรเคมีคือ C28H43OH เป็นสารพวกสเตอรอยด์ ละลายได้ในไขมันหรือตัวทำละลายไขมัน ถ้าร่างกายขาดวิตามินนี้ ทำให้การดูดซึมแคลเซียมจากลำไส้ไปสร้างกระดูกและฟันบกพร่องและเกิดโรคกระดูกอ่อน ฟันผุ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ตาบอดกลางคืน, โรคที่เกิดจากร่างกายขาดวิตามิน A ซึ่งมีผลทำให้นัยน์ตามัวมองเห็นไม่ชัดในเวลาโพล้เพล้ หรือยามค่ำคืน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เพอร์นิเซียสแอนีเมีย, โรคโลหิตจางชนิดหนึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากร่างกายไม่สามารถรับวิตามิน B12 ไปใช้ได้ มีอาการลิ้นอักเสบและอาการทางประสาท[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
โรคลักปิดลักเปิด, โรคที่เกิดจากร่างกายขาดวิตามิน C มีเลือดออกตามไรฟันและเหงือกบวม[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
โทโคฟีรอล, วิตามิน E สูตรเคมีคือ C29H50O2 เป็นวิตามินที่จำเป็นต่อการปฏิสนธิและการสืบพันธุ์ ถ้าร่างกายขาดวิตามินชนิดนี้จะทำให้เป็นหมัน เม็ดเลือดแดงเปราะแตกง่าย ในหญิงมีครรภ์ ถ้าขาดวิตามินชนิดนี้อาจทำให้แท้งได้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
โคบาลามิน, วิตามินบี 12, ดู cyanocobalamin[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
โรคขาดอาหาร, ทุโภชนาการ, ทุพโภชนาการ, การขาดอาหาร, การขาดสารอาหาร, การขาดแคลนอาหารแร่ธาตุและวิตามินต่าง ๆ, ภาวะทุพโภชนาการ, ขาดอาหาร[การแพทย์]
วิตะมินเค, เมนนาดีโอน, มีนาไดโอน, วิตามินเคสาม, เมนาดิโอน[การแพทย์]
วิตามินรวมชนิดน้ำเชื่อม[การแพทย์]
มัลติวิตามินแคปซูล, ยาแคปซูลไวตามินรวม[การแพทย์]
ยาเตรียมมัลติวิตามิน[การแพทย์]
ม้ลวิตามินในน้ำเชื่อม[การแพทย์]