น. ข้าวที่หุงสุกแล้ว, ข้าวสวย ก็เรียก.
น. กลิ่นหอม ๒ อย่าง คือ กลิ่นที่เกิดจากรากบุนนาคและรากมะซาง.
ก. ชุมนุมกันเพื่อกระทำการในทางไม่ดี เช่น มั่วสุมเล่นการพนัน.
ก. เลี้ยงแล้วยังใช้ประโยชน์ได้บ้าง.
ก. เลี้ยงแล้วไม่ได้ประโยชน์อะไร.
ชื่อเทวดาหมู่หนึ่งมี ๘ องค์ด้วยกัน เป็นบริวารของพระอินทร์.
(-สุนทะ-) น. แผ่นดิน, พื้นดิน.
(-สุมะ-) น. โลก, แผ่นดิน.
น. วันดับ, วันที่พระจันทร์และพระอาทิตย์ร่วมราศีและองศาเดียวกัน ตรงกับแรม ๑๕ ค่ำหรือแรม ๑๔ ค่ำในเดือนขาด.
แต่งงาน เช่น ฝรั่งกล่าวแหม่ม. (ประเพณีของชาวคริสเตียน), คำนี้ใช้เป็นปรกติในภาษาเขียน แต่ใช้เป็นภาษาพูดก็มีในบางลักษณะ เช่น กล่าวสุนทรพจน์.
ว. กว่าจะได้ผลดังประสงค์ ก็ต้องเสียอย่างใดอย่างหนึ่งไป ดุจเอาถั่วกับงามาคั่วพร้อมกัน กว่าจะคั่วจนถั่วสุก งาก็จะไหม้หมดไปก่อน.
น. ข้าวเปลือกที่ปนอยู่ในข้าวสารหรือข้าวสุก.
น. ของกินชนิดหนึ่งทำด้วยกุ้ง ใช้หมักด้วยข้าวสุก เกลือ และกระเทียม.
น. ข้าวสุกคลุกกับกะปิ มักใส่กุ้งแห้ง มะม่วงดิบซอย มีไข่กลอกเป็นแผ่นบาง ๆ หั่นฝอยโรยหน้า เป็นต้น มีหมูหวานเป็นเครื่องเคียง.
น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง มีข้าวสุกขัดแช่นํ้าเย็น กินกับเครื่องกับข้าวต่าง ๆ.
น. ข้าวสุกที่ติดเป็นแผ่นเกรียมอยู่ก้นหม้อหรือกระทะ.
น. ข้าวสุกที่อยู่ในส่วนบนสุดของหม้อ ยังไม่มีใครตักกิน ใช้ตักบาตร หรือใช้เป็นข้าวในการตั้งเครื่องสังเวยพลีกรรมต่าง ๆ.
น. ข้าวสุกผัดกับน้ำมันใส่หมูเป็นต้น.
น. ข้าวสุกผัด ใส่ซอสมะเขือเทศ ลูกเกด เมล็ดถั่วลันเตา มีไก่อบ ไส้กรอก แฮม ไข่ดาว วางบนข้าว.
น. อาหารชนิดหนึ่งของชาวปักษ์ใต้ ใช้ข้าวสุกคลุกกับเครื่องปรุง มีกุ้งแห้งป่น มะพร้าวคั่ว นํ้าเคยหรือนํ้าบูดู ส้มโอ และผักต่าง ๆ หั่นละเอียด เช่น ใบมะกรูด ตะไคร้ ถั่วฝักยาว.
น. ข้าวสุกราดหน้าด้วยผัดน้ำข้น ใส่ไก่ เห็ด หน่อไม้ บางทีโรยด้วยกุนเชียงหั่นทอดกรอบ.
น. ข้าวที่หุงสุกแล้ว, ข้าวสุก ก็เรียก.
น. ข้าวสุกมีเป็ดย่างสับเป็นชิ้นวางข้างบน ราดด้วยน้ำเป็ดย่าง.
น. ข้าวสุกมีหมูกรอบวางข้างบน กินกับน้ำจิ้มทำจากซีอิ๊วและพริกชี้ฟ้าหั่น.
น. ข้าวสุกมีหมูแดงวางข้างบน ราดด้วยน้ำที่ปรุงเฉพาะ.
น. ข้าวสุกที่ปรุงรสและใส่เครื่องปรุงต่าง ๆ แล้วอบให้ร้อน เรียกชื่อต่างกันไปตามเครื่องปรุง เช่น ข้าวอบหนำเลี้ยบ ข้าวอบกุนเชียง.
ก. มั่วสุมหรืออยู่ร่วมคลุกคลีพัวพันกันอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา.
การเอาข้าวสุกกับขี้เถ้าคลุกกันปะตรงกลางหน้ากลองเพื่อให้เสียงสูงตํ่า.
น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเหนียวผสมแป้งข้าวเจ้านวดกับกะทิแล้วนึ่งให้สุก ปั้นเป็นก้อนกลมแบน หุ้มไส้ที่ทำด้วยน้ำตาลทรายเคี่ยวจนเหนียวผสมงาคั่ว แล้วคลุกนวลแป้งข้าวเจ้าที่คั่วสุก.
น. ที่มั่วสุมชุมนุมกันลับ ๆ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ซ่องการพนัน ซ่องโจร ซ่องโสเภณี.
ว. แน่ว, แหน็ว, ใช้ประกอบคำ ตรง ว่า ตรงดิ่ว เช่น ถนนสายนี้ตรงดิ่วสุดลูกหูลูกตา.
น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ใช้ตับวัวหรือควายสับให้ละเอียด คลุกข้าวสุก เกลือ และเครื่องปรุง ขยำให้เข้ากันแล้วยัดในไส้หมู, หมํ้า หรือ หมํ้าตับ ก็เรียก.
(นิมมานะระดี, นิมมานอระดี) น. ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๕ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น มีท้าวสุนิมมิตมารเป็นใหญ่ในชั้นนี้, ในบทกลอนใช้ว่า นิมมานรดีต ก็มี เช่น ช่อชั้นนิมมานรดีต (อิเหนา). (ป.; ส. นิรฺมาณ + รติ). (ดู ฉกามาพจร ประกอบ).
ก. กดและถูให้เปลือกแตก เช่น บดข้าวเปลือก หรือให้แหลก เช่น บดข้าวสุก หรือให้เป็นผง เช่น บดยา หรือให้เรียบและแน่น เช่น บดถนน.
(ปะรัดสะ-) น. “บทเพื่อผู้อื่น”, ในตำราไวยากรณ์บาลีและสันสกฤตใช้เป็นเครื่องหมายให้ทราบว่าเป็นกริยากรรตุวาจก เช่น สูโท โอทนํ ปจติ = พ่อครัวหุงอยู่ซึ่งข้าวสุก, ปจติ เป็นกริยาปรัสสบท, ตรงข้ามกับ อัตตโนบท.
น. ปลาหมักด้วยเกลือ ข้าวสุก พริกไทย กระเทียม.
ก. ใช้ข้าวสุกเป็นเครื่องมือในการเชื้อเชิญผีออกจากคนที่กำลังเจ็บป่วยเพื่อให้หาย.
อาหาร, ข้าวสุก, ของกินซึ่งสุกด้วยนํ้า.
(โพชะนะห้า) น. ข้าว ๕ อย่าง คือ ข้าวสุก (ข้าวมัน หรือ ข้าวผัด ก็นับเข้า) ขนมสด (ขนมที่จะบูดเมื่อล่วงเวลาแล้ว เช่น แป้งจี่ ขนมด้วง ขนมครก) ขนมแห้ง (ที่ไม่บูด เช่น จันอับ ขนมปัง) ปลา (รวมทั้งหอย กุ้ง และสัตว์นํ้าเหล่าอื่นที่ใช้เป็นอาหาร) เนื้อ (เนื้อของสัตว์บกและนกที่ใช้เป็นอาหาร).
น. ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๓ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น มีท้าวสุยามเป็นใหญ่ในชั้นนี้. (ดู ฉกามาพจร ประกอบ).
น. ละครเวทีแบบหนึ่ง ผู้แสดงร้องเพลงดำเนินเรื่องตลอดทั้งเรื่อง ใช้เพลงและดนตรีสากล ไม่มีลูกคู่ จัดฉากและแต่งกายแบบสมัยนิยมตามเนื้อเรื่อง ต้องการเน้นเพลง เช่น จุฬาตรีคูณ บางครั้งนำบทละครเวที เช่น เรื่องราชินีบอด เรื่องเปลวสุริยา มาดัดแปลงเป็นละครเพลง.
น. ของกินชนิดหนึ่งทำด้วยกุ้ง ใช้หมักด้วยข้าวสุก เกลือ และกระเทียม มีรสเปรี้ยว, กุ้งส้ม ก็ว่า.
น. อาหารทำด้วยปลาสับละเอียดผสมกับข้าวสุกหมักเกลือ กระเทียม โขลกจนเหนียวแล้วห่อใบตองทับเอาไว้จนมีรสเปรี้ยว.
ไม่เปียก (ใช้แก่ข้าวสุก) เช่น หุงข้าวสวยดี ไม่ดิบ ไม่แฉะ.
ว. ยังไม่สุกทั่วกัน เช่น หุงข้าวสุก ๆ ดิบ ๆ.
ว. แวววาว, แจ่มใส, เช่น ดวงตามีประกายสุกใส คืนนี้ท้องฟ้ามีดาวสุกใส.