ก. ระริกระรี้, ตื่นเต้นแสดงความสนใจเพศตรงข้าม, เช่น พอเห็นหนุ่มหล่อ ๆ มาร่วมงาน สาว ๆ ก็กระดี๊กระด๊ากันเป็นแถว, แสดงท่าทางอย่างเห็นได้ชัดว่าดีใจหรือพอใจมาก เช่น แค่รู้ว่าผู้ชายจะมาสู่ขอลูกสาว ว่าที่แม่ยายก็กระดี๊กระด๊าจนเก็บอาการไม่อยู่, ตื่นเต้นแสดงความดีใจจนเกินงาม เช่น พอรู้ว่าหัวหน้าจะพาไปเที่ยวทะเลก็กระดี๊กระด๊ากันไปทั้งแผนก, กะดี๊กะด๊า หรือ ดี๊ด๊า ก็ว่า.
น. ท้ายทอย, ส่วนที่คอกับศีรษะต่อกัน, เช่น เหมือนกดคอยอกำด้นลูกสาวศรี (มณีพิชัย).
ก. ไม่มีใครมาขอแต่งงาน เช่น ลูกสาวคนเล็กอายุ ๓๐ ปีแล้ว ยังขายไม่ออกเลย.
น. ชายที่มาแต่งงานกับญาติผู้หญิง, ผัวของญาติ, เช่น ถ้าเป็นผัวของลูกสาว เรียก ลูกเขย ถ้าเป็นผัวของป้า เรียก ลุงเขย.
ก. จัดให้ลูกสาวมีเรือนตามประเพณี เช่น ตบแต่งลูกสาวให้เป็นฝั่งเป็นฝา.
(ต๊อก-, ต๊อกกะ-) ว. ต่ำต้อย เช่น ลูกสาวเศรษฐีแต่งงานกับคนต๊อกต๋อย.
น. หลาน (ลูกของลูกชายหรือลูกสาว).
ก. เข้าไปใกล้ชิด เช่น เขามานัวเนียกับลูกสาวบ้านนี้, เกี่ยวพันกันยุ่ง เช่น สองตระกูลนี้ลำดับญาติกันไม่ถูก เพราะนัวเนียกันไปหมด.
ว. ควรเป็นเนื้อคู่กัน เช่น ไปสู่ขอลูกสาวหลานสาวท่าน บุญทายต้องกัน.
(ปฺราชาปัดตะยะ-) น. การสมรสวิธีหนึ่งที่บิดายกลูกสาวให้เจ้าบ่าวโดยปราศจากการเรียกร้องอย่างใดอย่างหนึ่งจากเจ้าบ่าว.
มอบ เช่น ยกลูกสาวให้ ยกสมบัติให้
ก. ยกให้, มอบให้, เช่น ยกยอปอปั้นลูกสาวให้เขาไป
น. จำนวนเงิน ๘, ๐๐๐ บาท ซึ่งถือว่าเป็นจำนวนมากในสมัยหนึ่ง, โดยปริยายหมายถึงลูกสาวที่พ่อแม่สงวนอย่างมีค่าเท่ากับเงิน ๑๐๐ ชั่ง.
น. ชายซึ่งเป็นผัวของลูกสาว.
เกาะแกะ เช่น อย่าไปวอแวลูกสาวเขา.
น. เครื่องขมาโทษที่ชายนำไปคำนับพ่อแม่หญิงเพื่อขอโทษในการที่ลักพาลูกสาวท่านไป.
ว. เหมาะแก่เกียรติและฐานะ เช่น ลูกสาวบ้านนั้นเขาแต่งงานไปอย่างสมหน้าสมตา.
ก. ร่วมประเวณี เช่น ชายลอบลักสมรักทำชู้ด้วยลูกสาวท่านก็ดี… สองลอบสมรักด้วยกัน มิได้สู่ขอมีขันหมากเปนคำนับ (สามดวง).
ว. อาการที่สิ่งอย่างเดียวกันจำนวนมากปรากฏพร้อม ๆ กัน เช่น ดอกไม้ในสวนบานสะพรั่ง มะม่วงออกช่อสะพรั่ง เขามีลูกสาว ๓ คน กำลังเป็นสาวสะพรั่ง.
ก. เจรจาขอหญิงจากพ่อแม่หรือผู้ปกครองเพื่อการแต่งงาน เช่น เขาขอให้พ่อแม่ไปสู่ขอลูกสาวกำนัน.
ว. มีแขกมาเยี่ยมเยือนอยู่เสมอ (มักใช้หมายถึงบ้านที่มีลูกสาวสวย หรือบ้านผู้มีอำนาจวาสนา).
น. เรียกลูกสาวคนที่ ๓ ว่า ลูกอาม.
น. สอง, เรียกลูกสาวคนที่ ๒ ว่า ลูกอี่, คู่กับ ลูกชายคนที่ ๒ ว่า ลูกญี่.
น. หนึ่ง, เรียกลูกสาวคนที่ ๑ ว่า ลูกเอื้อย. (สามดวง)