แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
55 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*รามเกียรติ์*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: รามเกียรติ์, -รามเกียรติ์-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)RamayanaSee Also:the oldest of the Sanskrit epic poemsExample:หนังตะลุงนิยมเล่นกันในภาคใต้ โดยเรื่องที่แสดงกัน คือ รามเกียรติ์ แต่ได้นำมาเพิ่มเติมนิทานพื้นบ้านผสมเข้าไปบ้าง เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลินThai Definition:วรรณคดีเรื่องหนึ่ง ว่าด้วยพระรามทำศึกกับทศกัณฐ์
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(รามมะเกียน) น. ชื่อวรรณคดีเรื่องหนึ่ง ว่าด้วยพระรามทำศึกกับทศกัณฐ์เพื่อชิงนางสีดา.
ก. โถมเข้าไป เช่น ไม่ได้ทีอย่ากระโจมเข้าโรมรัน (รามเกียรติ์ ร. ๒)
ว. ชิดทีเดียว เช่น ว่องไวไล่กระชิดติดพัน (รามเกียรติ์ ร. ๒).
ว. เซ่อเซอะ, เร่อร่า, เช่น ผัวเขาจริง ๆ วิ่งกระเซอ (รามเกียรติ์ พลเสพย์), นิยมใช้เข้าคู่กับคำ กระเซอะ เป็น กระเซอะกระเซอ.
ก. กระเดาะ, กระดก, เช่น สิ้นทั้งพันปากกระดากลิ้น, สิบปากกระดากลิ้นเคี้ยวฟัน (รามเกียรติ์ ร. ๑).
น. ลิง เช่น ขุนกระบี่มีกำลังโดดโลดโผน กระโจมโจนจับยักษ์หักแขนขา (รามเกียรติ์ ร. ๒).
(-สิน, -สิระ) น. กษีร, นํ้านม, เช่น มาจากวารินกระษิรสมุทร (รามเกียรติ์ ร. ๒), กระษิรสินธุสาคร (สรรพสิทธิ์).
ก. ขยับ เช่น มือถือธนูกระหยับลั่น (รามเกียรติ์ ร. ๑; ไกรทอง; สรรพสิทธิ์).
น. อีเห็น เช่น กระเห็นเห็นกันแล้ววิ่งมา (รามเกียรติ์ ร. ๑).
(-แหฺย่ง) ก. คะยั้นคะยอ เช่น มาหยักเหยาเซ้าซี้กระแหย่งชาย (รามเกียรติ์ ร. ๑).
(กฺลาย) ก. เปลี่ยนไป, แปรปรวนไป, เช่น หน้าหนาวกลายเป็นหน้าร้อน, เป็นอื่นไป, แปลงไป, เช่น ศรกลายเป็นทิพย์กระยาหาร เปรี้ยวหวานตกลงตรงหน้า (รามเกียรติ์ ร. ๒), (โบ; กลอน) ใช้ในความว่า กราย ก็มี เช่น ไปกลายบ๋านชองตนกดี (จารึกสยาม), จักเจริญสวัสดิภาพศักดิศรี ศัตรูไพรี บห่อนจะใกล้กลายตน (โชค–โบราณ).
น. กระทะ เช่น จึ่งตั้งโลหะกันทะโดยตบะบนเส้าโขมดผี ให้ประโคมแล้วโหมอัคคี มาลีธูปเทียนบูชา (รามเกียรติ์ ร. ๒ ตอนศึกไมยราพณ์).
ทอง เช่น กัมพูหุ้มพู่พรรณจามรี (บุณโณวาท), ทองสุคนธ์ปนสุวรรณ์กัมพู (รามเกียรติ์ ร. ๒), (โบ) เขียนเป็น กำพู หรือ กำภู ก็มี.
ใช้ว่า กำมพฤกษ์ ก็มี เช่น พวกประจำกำมพฤกษ์บังคมไหว้ (รามเกียรติ์ ร. ๒).
(-มะพฺรึก) น. กัลปพฤกษ์ เช่น พวกประจำกำมพฤกษ์บังคมไหว้ (รามเกียรติ์ ร. ๒).
น. ชื่อพิธีชุบศรพรหมาสตร์ของอินทรชิตในเรื่องรามเกียรติ์.
(-หน) ว. โกลาหล เช่น สนั่นครั่นครื้นกุลาหล (รามเกียรติ์ ร. ๑).
(เกฺราะ) ก. พูดเลียบเคียง เช่น อย่าคำเพราะเกราะกล่าวเจรจา (รามเกียรติ์ ร. ๑), เขียนเป็น เกลาะ ก็มี เช่น ใช่จะแกล้งกล่าวเกลาะให้เพราะพริ้ง (อิเหนา).
(เกฺลาะ) ก. พูดเลียบเคียง เช่น ใช่จะแกล้งกล่าวเกลาะให้เพราะพริ้ง (อิเหนา), เขียนเป็น เกราะ ก็มี เช่น อย่าคำเพราะเกราะกล่าวเจรจา (รามเกียรติ์ ร. ๑).
น. ผ้าปิดของลับ เช่น แล้วเกี่ยวรัดโกปินำ (รามเกียรติ์ ร. ๑). (ป. โกปิน).
ว. หยาบคาย เช่น ชาติอ้ายขี้จาบปราบเพื่อนบ้าน (รามเกียรติ์ พลเสพย์).
น. การเล่นอย่างหนึ่งคล้ายละครรำ มักเล่นเรื่องรามเกียรติ์ โดยผู้แสดงสวมหัวจำลองต่าง ๆ ที่เรียกว่า หัวโขน.
(เคฺล่าคฺล่อง) ก. แคล่วคล่อง เช่น หลบหลีกเคล่าคล่องทำนองยุทธ (รามเกียรติ์ ร. ๒).
ก. ต้มให้เดือดนาน ๆ เพื่อให้งวด ข้น หรือเปื่อยเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า รํ่าไป, ไม่หยุดหย่อน, เช่น อันซึ่งพระรามฤทธิรงค์ มาเคี่ยวฆ่าวงศ์ยักษี (รามเกียรติ์ ร. ๑).
ก. ตรงเข้าไปถึงตัวอย่างรวดเร็ว เช่น สกัดกั้นทันนางกลางโพยม จู่โจมจับเป็นไม่เข่นฆ่า (รามเกียรติ์ ร. ๒ ตอนนางลอย)
ก. ตาย เช่น มาตรแม้นพระองค์ชีวงคต โอรสจะม้วยสังขาร์ (รามเกียรติ์ ร. ๒).
น. ชีวิต เช่น ก็สิ้นชีวาลัยไปเมืองฟ้า (รามเกียรติ์ ร. ๑).
ทำให้เป็นคนขึ้นมา เช่น อันรูปซึ่งชุบในอัคคี มีนามชื่อลบอนุชา (รามเกียรติ์ ร. ๑)
ก. ตัดทางไป, ลัดทางไป, เช่น ก็รีบลัดดัดดั้นตามไป (อิเหนา), ดั้นดัด ก็ใช้ เช่น ดั้นดัดลัดพงดงดาน (รามเกียรติ์ ร. ๑).
ก. มุ่งหน้าฝ่าไป เช่น ดั้นหมอกออกเมฆด้วยฤทธิไกร ผ่านพิชัยขีดขินบูรินมา (รามเกียรติ์ ร. ๑), มักใช้เข้าคู่กับคำ ด้น เป็น ดั้นด้น หรือ ด้นดั้น.
น. มูลเหตุที่ทำให้เกิดเรื่องนั้น ๆ, เรื่องเดิม, เรื่องก่อนที่จะเริ่มเรื่องที่แต่ง, เช่น เรื่องนนทุกเป็นต้นเรื่องรามเกียรติ์.
ก. รบ เช่น ซึ่งเจ้ามาต่อด้วยพ่อได้ (รามเกียรติ์ ร. ๑).
ก. ถ่วงเวลา, แย้งขอให้ระงับไว้ก่อน, เช่น แลอั้นคำค้านเสียมิได้ถามพญาณ แลอั้นคำท้วงติงทุเลาเสีย (สามดวง พระธรรมนูน), ครั้นว่าพี่มีคำติงทุเลา ช่างกระไรไม่เอาสักอย่าง (รามเกียรติ์ ร. ๒).
(เตฺรน) ก. เตร็ดเตร่ เช่น เที่ยวเตรนตระเวนหาคู่ (รามเกียรติ์ ร. ๑).
(เตฺริง) ก. เหลิง เช่น กระทิงเที่ยวเตริงพนาลี (รามเกียรติ์ ร. ๑).
น. เรียกพลลิงจำพวกหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ที่ใช้ผ้าตะบิดโพกศีรษะ ว่า เตียวเพชร
(แตฺระ) ก. กรีด เช่น แล้วลงตามลำไส้ด้วยไวว่อง เอาตรีแตระแหวะท้องยักษี (รามเกียรติ์ ร. ๒)
(-จัก) น. โลกทั้ง ๓ คือ สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล เช่น จึ่งจับศรจันทวาทิตย์ อันเรืองฤทธิ์ปราบทั่วทั้งไตรจักร (รามเกียรติ์ ร. ๑).
น. “ผู้มีสิบคอ” คือ ท้าวราพณ์ในเรื่องรามเกียรติ์.
น. ปืนคาบศิลาอย่างโบราณ ลำกล้องทำด้วยทองเหลือง ปากบาน ยิงด้วยกระสุนลูกปราย เช่น ล้วนถือทองปรายทุกคน (รามเกียรติ์ ร. ๑).
น. หน้าที่ เช่น อันการสงครามครั้งนี้ ไว้นักงานพี่จะช่วยหัก (รามเกียรติ์ ร. ๑), เจ้าพนักงาน เช่น เหวยนักงานเอ๋ย เร่งรุกเร็วบัดนี้พลัน จงแสดงทุกข์แห่งโอรส ให้ปรากฏโดยคดี ว่าบัดนี้หมู่สีพีลงโทษ โกรธจอมธรรม์ (ม. คำหลวง หิมพานต์).
ว. อึงมี่, อึกทึก, เช่น จึงดำรัสตรัสชวนอนุชา ลงจากพลับพลาผายผัน พร้อมพวกกระบี่นี่นัน จรจรัลไปยังฝั่งนที (ตับเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนางลอย).
(เนระกันถี) น. แก้วมณีสีเขียว, บางทีเขียนเป็น เนระกันถี หรือ เนียรกัณฐี ก็มี เช่น กับหินอย่างดีสีเขียวเรียกชื่อว่าเนระกันถี (สยามประเภท), ดังมรกตนิลเนียรกัณฐี (รามเกียรติ์ ร. ๒).
ว. มากมาย, อัดแอ, คับคั่ง, ยัดเยียด, เช่น กรุงกษัตริย์มาพร้อมประชุมกัน แน่นนันต์ในพระลานชัยศรี (รามเกียรติ์ ร. ๑).
น. แหล่งที่เกิด, แหล่งที่มา, ต้นกำเนิด, เช่น บ่อเกิดวัฒนธรรม บ่อเกิดรามเกียรติ์.
น. นกปรอด เช่น เค้าโมงขมิ้นบ่าวขุน บ้าระบุ่นโกญจากระทาขัน (รามเกียรติ์ ร. ๑), โบราณเขียนเป็น บารบุน ก็มี เช่น จินโจ้กระจาบเวียน บารบุนและเบญจวรรณ (บุณโณวาท).
(พัก) ก. ย้อน, ถอยหลัง, เช่น ดาวนพเคราะห์เดินย้อนราศีเรียกว่า พักร (รามเกียรติ์ ร. ๒).
(มะหาพาระตะ) น. ชื่อบทประพันธ์มหากาพย์เรื่องใหญ่เรื่องหนึ่งของอินเดีย, คู่กับ รามายณ คือ รามเกียรติ์.
ว. เท่านี้ยังไม่เพียงพอ, หนักยิ่งไปกว่านั้นอีก, เช่น ตัดเท้าตัดกรแล้วมิหนำ ซ้ำฆ่าสุริย์วงศ์ยักษี (รามเกียรติ์).
น. ชื่อตัวเอกในเรื่องรามเกียรติ์.
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
รามเกียรติ์[TU Subject Heading]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
รามเกียรติ์Princess Hours (2006)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[Rāmakīen] (n, prop) EN: Ramakien ; rarmagian
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ