การรักษาโรค[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การรักษาโรคทางโทรศัพท์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br>[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br>[นิวเคลียร์]
ยารักษาโรคผิวหนัง[TU Subject Heading]
ยารักษาโรคทางระบบประสาทและจิต[TU Subject Heading]
การรักษาโรค[TU Subject Heading]
ของเสียคลีนิก, ของเสียจากการรักษาโรค, Example:ขยะที่เกิดจากการรักษาพยาบาลเช่น ชิ้นเนื้อ เลือด สำลี เข็มฉีดยา [สิ่งแวดล้อม]
การรักษาโรคโดยการแทงเข็มบนจมูก[การแพทย์]
ยารักษาโรคพยาธิ, ยาฆ่าพยาธิ, ยารักษาโรคพยาธิ (ลำไส้), ยาขับพยาธิ์[การแพทย์]
ยารักษาโรคมะเร็ง[การแพทย์]
ยารักษาโรคพยาธิตัวตืด[การแพทย์]
ยาแก้ชัก, ยาระงับชัก, ยาต้านอาการชัก, ยาแก้อาการชัก, ยากันลมชักหรือลมบ้าหมู, ยารักษาโรคลมชัก, ยาระงับอาการชัก, ระงับอาการชัก[การแพทย์]
ยาแก้อารมณ์เศร้า, ยาต้านเศร้า, ยารักษาโรคซึมเศร้า, สารที่ต่อต้านความซึมเศร้า, ยาต้านซึมเศร้า, แอนตีดีเพร็สแซ็นท์, ยาต้านอาการเศร้า, ยารักษาอารมณ์เศร้า, ยาระงับอารมณ์เศร้า, ยาที่ลดอาการซึมเศร้า, ยาต้านความซึมเศร้า, ยาระงับซึมเศร้า[การแพทย์]
ยารักษาโรคผิวอักเสบเรื้อรัง[การแพทย์]
ยารักษาโรคจากเชื้อรา, สารต้านเชื้อรา, สารฆ่าเชื้อรา[การแพทย์]
คลีนิครักษาโรคความดันโลหิตสูง[การแพทย์]
ยารักษาโรคโปรโตซัว, สารต้านโปรโตซัว[การแพทย์]
ยาต้านโรคจิต, ยาสำหรับรักษาโรคจิต[การแพทย์]
ยาต้านโรคจิต, ยารักษาโรคจิต[การแพทย์]
ยาที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะ[การแพทย์]
ยารักษาโรคคอพอกเป็นพิษ, ยารักษาโรคไทรอยด์, ยารักษาโรคคอหอยพอกเป็นพิษ, ยาต้านธัยรอยด์[การแพทย์]
สารต้านไวรัส, ยารักษาโรคไวรัส[การแพทย์]
ยาต้านไวรัส, ยารักษาโรคไวรัส[การแพทย์]
ยารักษาโรคประสาท, ยาคลายกังวล[การแพทย์]
เครื่องใช้ในการรักษาโรค[การแพทย์]
การรักษาโรคโดยการแทงเข็มบนใบหู[การแพทย์]
การรักษาโรคระบบทางเดินน้ำดีโดยวิธีการทางรังสี[การแพทย์]
คาร์ดิแอกไกลโคไซด์, กลัยโคไซด์ที่ใช้รักษาโรคหัวใจ, สารพวกที่มีผลต่อหัวใจ, กลัยโคไซด์ที่มีผลต่อหัวใจ[การแพทย์]
ขี้ผึ้งรักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง[การแพทย์]
การครอบกระปุกรักษาโรค[การแพทย์]
การรักษาพยาบาล, ด้านการรักษาพยาบาล, การรักษาโรค[การแพทย์]
ยาที่เป็นพิษต่อเซลล์ยารักษาโรคมะเร็ง[การแพทย์]
การรักษาโรคแผลในทางเดินอาหารโดยการจัดอาหาร[การแพทย์]
ดิจิตาลิส, ยา, ดิจิตาลิส, ยาดิจิตาลิส, ดิจิทาลิส, ยาหัวใจ, ยารักษาโรคหัวใจ, ดิจิตาลิส, ดิจิตัลลิส, ดิจิทาลิส, ยาจำพวกดิจิทลิส[การแพทย์]
การบำบัดด้วยยา, การรักษาโรคด้วยยา, การรักษาด้วยยา[การแพทย์]
การรักษาด้วยการช็อคไฟฟ้า, การบำบัดโดยทำให้ชักด้วยไฟฟ้า, การรักษาด้วยไฟฟ้า, การรักษาโรคด้วยการช็อคไฟฟ้า[การแพทย์]
ยาซัลฟา, ยาที่มีธาตุกำมะถันเป็นองค์ประกอบ ใช้ในการรักษาโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การตัดหัวของกระดูกต้นขาออกเพื่อรักษาโรค[การแพทย์]
ความไม่พึงผสมของตัวยาในแง่ของการรักษาโรค[การแพทย์]
การป้องกันและรักษาโรคไวรัสโดยสารอินเตอร์เฟอรอน[การแพทย์]
ยารักษาโรคเรื้อน[การแพทย์]
การรักษาโรค, การให้การรักษาทางด้านการแพทย์, การรักษาทางแพทย์[การแพทย์]