น. คำเรียกพระสนมเอกครั้งโบราณ, เขียนว่า แม่หยั่วเมือง หรือ แม่อยั่วเมือง ก็มี.
น. คำเรียกพระสนมเอกครั้งโบราณ, เขียนว่า แม่ยั่วเมือง หรือ แม่อยั่วเมือง ก็มี.
น. คำเรียกพระสนมเอกครั้งโบราณ, เขียนว่า แม่ยั่วเมือง หรือ แม่หยั่วเมือง ก็มี.
น. ยาน, เครื่องพาตัวไป, เช่น วอ เสลี่ยง รถ, บางทีใช้ควบกับคำ ยาน เป็น ยั่วยาน, ต่อมาใช้เลือนเป็น ยวดยาน.
ก. พูดหรือทำให้เกิดอารมณ์ในทางใดทางหนึ่งรุนแรงขึ้น เช่น ยั่วราคะ ยั่วโทสะ ยั่วโมโห ยั่วกิเลส.
ก. ทำให้อีกฝ่ายหนึ่งกำเริบรักหรือเกิดความใคร่.
ก. ยุให้เกิดอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง.
ว. อาการที่คนหรือสัตว์จำนวนมากเคลื่อนไหวขวักไขว่ไปมา เช่น ลูกเต้ายั้วเยี้ยไปหมด หนอนไต่กันยั้วเยี้ย ฝูงลิงไต่ยั้วเยี้ยอยู่บนยอดไม้.
ว. คำเรียกพระสนมเอกครั้งโบราณ ว่า แม่ยั่วเมือง, อยั่วเมือง หรือ หยั่วเมือง ก็ว่า.
น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งตะแคงตั้งฝ่ามือระดับชายพก มืออีกข้างหนึ่งจีบส่งหลัง เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่ตะแคง.
ว. คำเรียกพระสนมเอกครั้งโบราณ ว่า แม่หยั่วเมือง, อยั่วเมือง หรือ ยั่วเมือง ก็ว่า.
ว. คำเรียกพระสนมเอกครั้งโบราณ ว่า แม่อยั่วเมือง, หยั่วเมือง หรือ ยั่วเมือง ก็ว่า.
(กัน-) ก. กระหาย, อยากเป็นกำลัง, หิวโหย, เช่น กามกรรหายยั่วข้าง (ลอ), ให้หยุดพลพักร้อน กรรหายผ่อนเอาทับ (นิ. พลเสพย์).
น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น กระเวนวังนัวกระเวนดง ช่างทองลงจับทองยั้ว (ลอ).
น. เครื่องบังแดดมีคันปักดิน หมุนได้ตามต้องการ, โบราณเขียนเป็น กแอ เช่น นา ๑๖๐๐ กินเมืองเจียดเบื้ออหักรองตลุ่มกั้งกแอทาชาต แลฝ่ายทางบกถึงศาลาฝาแฝดแลปตูท่าหญ้าลดช้าง ลดม้า ยั่วยานคานหามร่มทงยูกันชิงกแอ (สามดวง).
(กาละ-) น. ชื่อพิธีกรรมในลัทธิตันตระ ซึ่งมีข้อปฏิบัติเบื้องต้น ๕ อย่าง คือ ดื่มนํ้าเมา กินเนื้อสัตว์ พรํ่ามนตร์ แสดงท่ายั่วยวน และเสพเมถุน ซึ่งปฏิบัติในเวลากลางคืนหรือที่มืด, กาฬจักร ก็ว่า.
ก. เยื้องกราย, กรีดกราย, เช่น งามหัตถ์งามกรช่างอ่อนระทวย ช่างนาดช่างนวยสวยยั่วนัยนา (ฉุยฉายพราหมณ์)
ก. ยั่ว, ล่อ, ชวนให้เพลิน, ชวนให้ยินดี, เช่น ยวนตา ยวนใจ
ก. เอาอย่างเพื่อยั่วเย้าเล่น เช่น พูดทำเสียงล้อเลียนคนติดอ่างหรือคนพูดไม่ชัด แสดงกิริยาเดินขากะเผลกล้อเลียนคนขาเป๋.
ว. คำค่อนว่าผู้หญิงที่ประพฤติตัวไม่สมควร เช่นล่อหรือยั่วยวนผู้ชายในที่เปิดเผย.
(ลาละ-) น. การเคล้าคลึง, การยั่วเย้า, การเล้าโลม.
ก. ใช้กลการประพันธ์ในการแต่งบทร้อยกรองด้วยการซ้ำคำหรือซ้ำอักษรให้เกิดเสียงเสนาะ หรือให้มีความหมายที่ลึกซึ้งกินใจยิ่งขึ้น เช่น ยูงจับยูงยั่วเย้า เปล้าจับเปล้าแปลกหมู่ กระสาสู่กระสัง รังเรียงรังรังนาน (ลอ).
ก. ยั่วให้รำคาญ, ยั่วให้โกรธ.