น. ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนจำนวนมากเคลื่อนที่ระหว่างเมฆกับพื้นโลก เกิดพลังงานสูงมากจนสามารถทำลายสิ่งที่กีดขวาง เช่น คน สัตว์ ต้นไม้ บ้านเรือน
โดยปริยายหมายความว่า คำสั่งด่วนที่ออกมาโดยไม่คาดหมายและไม่รู้เหตุผล.
น. การเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าผ่านตัวนำหรือฉนวน
น. ขวานที่ทำด้วยหินในยุคหิน เชื่อกันว่าตกลงมาจากฟ้าเมื่อเวลาฟ้าผ่า.
น. การลงโทษของเทวดา, เทวดาลงโทษ, เช่น คนถูกฟ้าผ่าตายถือว่าเป็นเทวทัณฑ์.
น. ระบบสื่อสารที่ใช้ส่งและรับรูปภาพหรือข้อความในรูปของคลื่นสัญญาณไฟฟ้าผ่านระบบโทรคมนาคม เครื่องส่งในระบบนี้จะกราดเอกสารที่ต้นทางแล้วแปลงข้อมูลเป็นคลื่นสัญญาณไฟฟ้า ก่อนที่จะส่งผ่านสายไฟฟ้า เส้นใยแก้ว หรือคลื่นวิทยุ ไปยังเครื่องรับที่ปลายทาง ซึ่งจะแปลงคลื่นสัญญาณไฟฟ้ากลับมาเป็นข้อมูลเอกสารเดิม ก่อนที่จะพิมพ์ออกมาในแผ่นกระดาษ, เดิมใช้ โทรภาพ
น. การตก, การตกไป, นิยมใช้ประกอบหลังคำอื่น ในคำว่า บิณฑบาต = การตกแห่งก้อนข้าว, อสนีบาต = การตกแห่งสายฟ้า คือ ฟ้าผ่า, อุกกาบาต = การตกแห่งคบเพลิง คือ ผีพุ่งไต้.
(-เปฺรี้ยง) ว. เสียงอย่างเสียงฟ้าผ่า.
(เปฺรี้ยง) ว. เสียงดังลั่นอย่างเสียงฟ้าผ่า
(สะหฺนั่น) ว. กึกก้อง, ดังลั่น, ดังมาก, เช่น ฟ้าผ่าเสียงดังสนั่น.
น. บริเวณที่มีอำนาจไฟฟ้า, บริเวณที่มีเส้นแรงไฟฟ้าผ่าน.
น. เส้นโลหะตัวนำไฟฟ้า ใช้เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่าน ไม่มีฉนวนหุ้ม, ถ้ามีฉนวนหุ้มเรียก สายไฟฟ้า.
น. แสงที่เป็นสายแวบวาบเมื่อเวลาฟ้าแลบฟ้าผ่า
น. เส้นโลหะตัวนำไฟฟ้า ใช้เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านอาจมีฉนวนหุ้มหรือไม่มีก็ได้, ถ้าไม่มีฉนวนหุ้มเรียก สายเปลือย.
น. แท่งโลหะปลายแหลมใช้ติดบนหลังคาอาคารสูง ๆ โดยโยงต่อกับพื้นดินด้วยลวดโลหะ เพื่อทำหน้าที่เป็นตัวนำไฟฟ้าให้อิเล็กตรอนจำนวนมากเคลื่อนที่ได้ระหว่างเมฆกับพื้นโลก เป็นการป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า.
(อะสะ-) น. ฟ้าผ่า, อสุนีบาต ก็ว่า.
(อะ-) น. ฟ้าผ่า, อสนีบาต ก็ว่า.