น. ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญในเรื่องนั้น ๆ เช่น เรื่องนี้ต้องให้ผู้รู้เป็นคนชี้แจง.
(กะตัน-) น. ความกตัญญู, ความเป็นผู้รู้อุปการคุณที่ท่านทำให้, ความเป็นผู้รู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวทิตา.
(กะวี) น. ผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญในศิลปะการประพันธ์บทกลอน จำแนกเป็น ๔ คือ ๑. จินตกวี แต่งโดยความนึกคิด ๒. สุตกวี แต่งโดยได้ฟังมา ๓. อรรถกวี แต่งตามความเป็นจริง ๔. ปฏิภาณกวี แต่งโดยฉับพลันทันที.
(กาลันยุตา) น. ความเป็นผู้รู้กาล.
ผู้รู้พิธีทำขวัญ เรียกว่า หมอขวัญ
ชัด, แน่, แท้, เที่ยง, จะแจ้ง, เช่น เร่งหาผู้รู้รอบ ทุกการ เฉลียวฉลาดโวหาร ถ่องถ้อย (ลอ).
ก. วางวัตถุสิ่งหนึ่งแนบกับอีกสิ่งหนึ่ง เช่น เอาผ้าทาบตัว เอามือทาบอก, (ปาก) เปรียบ, เทียบ, เช่น เรามีความรู้น้อยจะไปทาบท่านผู้รู้ได้อย่างไร
น. ผู้รู้ธรรม, ผู้สอบความรู้ธรรมได้ตามหลักสูตรที่กำหนดไว้ มี ๓ ชั้น คือ ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก
น. ผู้เล่าเรียน, ผู้รู้ธรรม, ผู้คงแก่เรียน, เปรียญ.
(ปะ-) น. ผู้รู้จักประชุมชนและกิริยาที่จะต้องประพฤติต่อประชุมชนนั้น ๆ ว่า หมู่นี้เมื่อเข้าไปหาจะต้องทำกิริยาอย่างนี้ จะต้องพูดอย่างนี้ เป็นต้น.
(พะยัด) น. ผู้เรียน, ผู้รู้.
น. ผู้รู้ประมาณคือความพอเหมาะพอดี.
น. ผู้รู้จักรส, ผู้รู้จักรสในทางกวีและศิลปะต่าง ๆ.
(รัดตันยู) น. ผู้รู้กาลนาน, ผู้มีอายุมาก จำกิจการต่าง ๆ ได้มาก.
(โลกะ-) น. “ผู้รู้แจ้งซึ่งโลก” คือ พระพุทธเจ้า.
(วิดยะ) น. ผู้รู้, ผู้ฉลาด, ปราชญ์.
น. ผู้รู้แจ้ง, นักปราชญ์.
น. ความเป็นผู้รู้ผิดรู้ชอบตามปรกติ.
(วิดทะวัด) น. ผู้รู้, นักปราชญ์, ผู้มีปัญญา.
น. ผู้คงแก่เรียน, ผู้รู้.
น. ผู้รู้แจ้งชัด, นักปราชญ์.
มีชื่อเสียง, มีผู้รู้จัก.
น. ผู้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง, ผู้รู้ทั่ว, พระนามของพระพุทธเจ้า, สรรพัชญ ก็เรียก.
(สันเพดชุ-) น. ความเป็นผู้รู้ทุกสิ่ง หมายเอาความเป็นพระพุทธเจ้า.
น. พยานผู้รู้เห็นเหตุการณ์ด้วยตาตนเอง, มักใช้เข้าคู่กับคำ พยาน เป็น สักขีพยาน.
น. พยานผู้รู้เห็นเหตุการณ์ด้วยตาตนเอง.
(สับ-) น. ผู้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง, ผู้รู้ทั่ว
น. ผู้รู้พร้อม, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้สว่างแล้ว
เรียกคนที่ดวงชะตามีพฤหัสอยู่ในราศีสิงห์มีอาทิตย์เป็นเจ้าเรือนว่า พฤหัสสู้ครู ซึ่งหมายความว่า มีใจกล้า มีใจเข้มแข็งพอที่จะสู้กับผู้รู้หรือผู้ชำนาญชั้นครูได้.
น. ผู้รู้, ผู้ชำนาญ, เช่น หมองู หมอนวด
น. ผู้รู้พิธีทำขวัญ, หมอทำขวัญ ก็เรียก
น. ผู้รู้พิธีทำขวัญ, หมอขวัญ ก็เรียก.