ประหลาด, แปลก, เช่น ข้าเห็นร่มชมพู ตรูรัตนพิสาล ตรงตระการกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร), เสียงแตรสังขแลพาทยเภริยนุดนตรี อึงเองบพักตี ตระการ (อนิรุทธ์)
(ทัดสะนานุดตะริยะ) น. การเห็นอันประเสริฐยิ่ง เช่น การเห็นพระพุทธเจ้าเป็นทัสนานุตริยะ.
(มะนุดสะยะ-, มะนุด) น. สัตว์ที่รู้จักใช้เหตุผล, สัตว์ที่มีจิตใจสูง, คน.
(มะนุดสะยะ-, มะนุดสะ-) น. จำพวกคน, หมู่มนุษย์.
(มะนุดสะยะ-, มะนุดสะ-) น. โลกมนุษย์.
(มะนุดสะยะ-, มะนุดสาด) น. วิชาว่าด้วยคุณค่าทางจิตใจและงานของคน มีศิลปะ วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ศาสนา และปรัชญา. (ส. มนุษฺย + ศาสฺตฺร).
(มะนุดสะยะ-, มะนุดสำพัน) น. ความสัมพันธ์ในทางสังคมระหว่างมนุษย์ ซึ่งจะก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน.
(มานุด, มานุดสะยะ-) น. คน, เพศคน.
(มานุด, มานุดสะยะ-) ว. เกี่ยวกับคน, ของคน.
(มานุดสะยะ-, มานุด-) น. วิชาว่าด้วยเรื่องตัวคน และสิ่งที่คนสร้างขึ้น.
(สะนุด) ว. ไหล, ย้อย, (ใช้แก่น้ำนมแม่).
(สะหฺยามมานุดสะติ, สะหฺยามานุดสะติ) น. ชื่อพระราช-นิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นโคลง ๔ สุภาพ.
(สะวะนานุดตะริยะ) น. การฟังอันประเสริฐยิ่ง เช่น การฟังธรรมจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้าเป็นสวนานุตริยะ.
(อะนุด) น. “ผู้เกิดภายหลัง”, น้องสาว, นิยมใช้ว่า นุช.
(อะนุดตะระ-) ว. ไม่มีสิ่งใดสูงกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, วิเศษ เช่น อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ.
(อะนุดสะติ) น. ความระลึกถึง
(-มะนุดสะทำ) น. คุณอย่างยวดยิ่งของมนุษย์ ได้แก่ธรรมวิเศษมีการสำเร็จฌาน สำเร็จมรรคผลเป็นต้น.