ก. ดีกว่าเดิม เช่น อาการไข้กระเตื้องขึ้น เดี๋ยวนี้ฐานะเขาค่อยกระเตื้องขึ้น
ว. มาก, ใช้ประกอบกับคำ มืด เป็น มืดตึ๊ดตื๋อ.
ว. ทึบ เช่น มืดตื้อ สมองตื้อ
แน่นอึดอัด เช่น อิ่มตื้อ ท้องตื้อ
เรียกดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง ว่า อ้ายตื้อ หรือ อีตื้อ
เรียกข้าวเหนียวกินกับนํ้ากะทิในพิธีเลี้ยง ว่า อ้ายตื้อ.
ก. รบเร้าจะเอาให้ได้, เซ้าซี้รบกวนรํ่าไป.
ว. เร็วมาก (ใช้แก่กริยาวิ่ง)
มาก, ใช้ประกอบกับคำ มืด เป็น มืดตื๋อ.
น. ครั้ง, หน, เทือ เทื่อ หรือ เทื้อ ก็ว่า.
ว. มืดมากจนมองไม่เห็นแสงสว่าง เช่น ในถ้ำมืดตึ๊ดตื๋อ, มืดตื้อ หรือ มืดตื๋อ ก็ว่า.
ว. มืดมากจนมองไม่เห็นแสงสว่าง เช่น ในห้องนี้มืดตื้ออย่างกับเข้าถ้ำ.
ก. กินเลี้ยงในงานมงคล [ สี่ถ้วย คือ ขนม ๔ อย่าง อย่างละถ้วย ได้แก่ ไข่กบ (สาคูหรือเมล็ดแมงลัก), นกปล่อย (ลอดช่อง), มะลิลอย (ข้าวตอก), อ้ายตื้อ (ข้าวเหนียว) มีนํ้ากะทิใส่ชามอยู่กลาง ].
ว. ครั้ง, หน, เตื้อ ก็ว่า.
(บัน-) ก. ทำให้กระเตื้องขึ้น, พยุง, ทำให้ดีขึ้น.
ก. กระเตื้องขึ้น, ดีขึ้น, เจริญขึ้น, ฟุ้งกระจายไปด้วยความดี, ฟ่องฟู ก็ว่า.
ก. เมาอ่อน ๆ, รู้สึกวิงเวียน เช่น มึนศีรษะ, รู้สึกตื้อในสมอง เช่น อ่านหนังสือมากชักมึน, มึนหัว ก็ว่า.
ก. รู้สึกตื้อในสมอง, มึน ก็ว่า.
ว. ติด ๆ ขัด ๆ เช่น วันนี้สมองตื้อ จะเขียนอะไรก็ติดหงึกหงักไปหมด.