ก. บีบเข้าหรือเม้มเข้าซ้ำ ๆ กัน (มักใช้แก่ปาก ช่องทวารหนัก และทวารเบา)
(ขะหฺมิบ) ก. กระหมิบ, บีบเข้าหรือเม้มเข้าซ้ำ ๆ กัน (มักใช้แก่ปาก ช่องทวารหนัก และทวารเบา)
(ขะหฺย่ม) ก. ใช้นํ้าหนักตัวกดลง แล้วยกตัวขึ้นแล้วกลับกดลงอีกซ้ำ ๆ กัน, ห่ม ก็ว่า.
(คฺรุ่น) ว. บ่อย ๆ เช่น เจ็บปวดครุ่นไปไข้ชราถอยกำลังวังชาลงทุกปี (สังข์ทอง), ซ้ำ ๆ, รํ่าไป, เช่น ครุ่นแค้น.
ก. กระทำซ้ำ ๆ เช่น เขามักฉายซ้ำเรื่องเก่า ๆ.
กิริยาที่ผู้รำละครใช้ส่วนหน้าของฝ่าเท้าย่ำซ้ำ ๆ โดยส้นเท้าไม่แตะพื้น ขณะอยู่ในท่าย่อเข่า.
ก. ว่าซ้ำ ๆ ให้จำได้ เช่น ท่องหนังสือ ท่องมนตร์.
ว. อาการที่พูดดัง ๆ ซ้ำ ๆ ซาก ๆ แต่ไม่มีใครสนใจฟัง เช่น ครูสอนอยู่ปาว ๆ มีคนมาตะโกนเรียกอยู่ปาว ๆ.
(แผฺล็บ-) ก. ทำซ้ำ ๆ อย่างรวดเร็ว เช่น งูแลบลิ้นแผล็บ ๆ.
เคลือบคลุม, ไม่แจ่มแจ้ง, เช่น ข้อความยังเฝืออยู่, หมดความสำคัญ เช่น มากเสียจนเฝือ, บ่อย ๆ หรือซ้ำ ๆ ซาก ๆ จนทำให้หมดความสำคัญหรือหมดความสนใจ เช่น เรื่องนี้พูดกันจนเฝือ.
(พฺล่าม) ว. เพ้อเจ้อ, อาการที่พูดมากจนเสียประโยชน์, อาการที่พูดซ้ำ ๆ ซาก ๆ ไม่รู้จักจบจนน่ารำคาญ.
ก. อาการเพลียของกล้ามเนื้อเมื่อทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งซ้ำ ๆ อยู่เป็นเวลานาน เช่น เดินอยู่นานจนเมื่อย เมื่อยมือเพราะเขียนหนังสือนาน.
ก. อาการที่พูดซ้ำ ๆ มาหลายครั้งหรือนานจนไม่อยากพูดอีก.
ก. เหยียบหนัก ๆ ซ้ำ ๆ อยู่กับที่.
ก. คิดหรือตั้งใจซ้ำ ๆ อยู่ เช่น รำรำว่าจะไปเยี่ยมเพื่อนที่ต่างจังหวัดก็ไม่ได้ไปเสียที ร่ำร่ำจะไปเที่ยวภูกระดึงก็ไม่ได้ไปเสียที.
ว. ซ้ำ ๆ ซาก ๆ, ร่ำรี้ร่ำไร, เช่น พูดแล้วไม่รู้จักแล้ว บ่นอยู่นั่นแหละ แล้วไม่รู้แล้ว.
ว. อาการที่ปรากฏให้เห็นซ้ำ ๆ ในช่วงเวลาสั้น ๆ เช่น เห็นแสงไฟแว็บ ๆ อยู่ไกล ๆ.
(หฺยำเหฺยอะ, หฺยำแหฺยะ) ว. อาการที่เคี้ยวซ้ำ ๆ น่ารังเกียจ, อาการที่พูดซ้ำซากน่าเบื่อ.
(เหฺยง) ว. อาการที่ทำซ้ำ ๆ อย่างเร็ว เช่น ขุดดินเหยง ด่าเหยง ๆ, (ปาก) ใช้ว่า เหย็ง หรือ เหย็ง ๆ ก็มี.