นิวไคลด์กัมมันตรังสีเกิดจากรังสีคอสมิก, นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นเมื่อรังสีคอสมิกชนกับโมเลกุลของแก๊สในชั้นบรรยากาศของโลก เช่น ทริเทียม (<sup>3</sup>H) คาร์บอน-14 (C-14) โซเดียม-22 (Na-22) และ เบริลเลียม-7 (Be-7)[นิวเคลียร์]
ไซโคลทรอน, เครื่องเร่งอนุภาคที่อนุภาคถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้าและถูกควบคุมด้วยสนามแม่เหล็ก ให้วิ่งวนเป็นวงออกไปคล้ายก้นหอย เมื่อได้ความเร็วที่ต้องการ อนุภาคจะถูกปล่อยให้ชนกับวัสดุที่ใช้เป็นเป้า เครื่องเร่งอนุภาคชนิดนี้ใช้ในการวิจัยฟิสิกส์มูลฐาน และการผลิตสารไอโซโทปรังสี ผู้ประดิษฐ์ คือ เออร์เนสต์ โอ. ลอว์เรนซ์ (Earnest O. Lawrence) ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี พ.ศ. 2482[นิวเคลียร์]
เครื่องกำเนิดนิวตรอน, เครื่องเร่งอนุภาคชนิดหนึ่งที่ใช้ในการผลิตนิวตรอน โดยการเร่งอนุภาคที่มีประจุ เช่น ดิวเทอรอน ให้มีพลังงานระหว่าง 150-500 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ แล้วปล่อยให้ชนกับเป้าบางๆ ที่เหมาะสม ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นจะให้นิวตรอนที่มีพลังงานได้ถึง 17.59 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์, Example: [นิวเคลียร์]
เยาวชนกับความรุนแรง[TU Subject Heading]
การชนกับโลก[TU Subject Heading]
ชุมชนกับมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย[TU Subject Heading]
ชุมชนกับโรงเรียน[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับมานุษยวิทยา[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับศิลปะ[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับธุรกิจ[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับเด็ก[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับวัฒนธรรม[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับเกย์[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับภาษา[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับชนกลุ่มน้อย[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับดนตรี[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับผู้สูงอายุ[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับมติมหาชน[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับการเผยแพร่ข่าว[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับสังคมสงเคราะห์[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับกีฬา[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับเทคโนโลยี[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับวัยรุ่น[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับสิ่งแวดล้อม[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับครอบครัว[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับสตรี[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับเยาวชน[TU Subject Heading]
เป็นกลไกหนึ่งภายใต้อาเซม เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ วัฒนธรรม และประชาชนกับประชาชน ระหว่างประเทศสมาชิก[การทูต]
เครื่องไซโคลตรอน , เป็นเครื่องสำหรับเร่งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ผู้ประดิษฐ์คือ Earnest O. Lawrence ชาวอเมริกัน ซึ่งได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2482 ในเครื่องเร่งอนุภาคชนิดนี้ อนุภาคถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้า ในขณะเดียวกันก็ถูกควบคุมด้วยสนามแม่เหล็ก ให้วิ่งวนเป็นวงออกไป เมื่อได้ความเร็วที่เหมาะสม ก็จะถูกปล่อยให้ไปชนกับเป้าที่ต้องการ เครื่องเร่งนี้ใช้ในการวิจัยทางฟิสิกส์พื้นฐาน และการผลิตสารไอโซโทปรังสี[พลังงาน]
เครื่องกำเนิดนิวตรอน, เป็นเครื่องผลิตนิวตรอนพลังงานสูง โดยการเร่งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เช่น ดิวเทอรอน (deuteron) ให้มีพลังงานจลน์ในช่วง 150-500 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ แล้วให้ชนกับเป้าบางๆ โดยทั่วไปปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ใช้ในการผลิตนิวตรอน ได้จากการเร่งดิวเทอรอนให้ชนกับตริเตรียม(tritium) ทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ ดังสมการ[พลังงาน]