107 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*คณะกรรมาธิการ*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: คณะกรรมาธิการ, -คณะกรรมาธิการ-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)commissionExample:ประชาชนมองว่า คณะกรรมาธิการชุดนี้ไม่เหมาะสมต่อการพิจารณาตัดสินเรื่องนี้Unit:คณะThai Definition:บุคคลที่ได้รับเลือกจากวุฒิสภาหรือสภาผู้แทนราษฎรตั้งเป็นคณะกรรมาธิการเพื่อกระทำกิจการหรือพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องใดๆ ตามที่สภามอบหมายแล้วรายงานต่อสภา
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. คณะบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภา.
น. คณะกรรมาธิการของรัฐสภาที่สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาเลือกและแต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อพิจารณาหรือดำเนินการเรื่องใดที่รัฐสภามอบหมาย.
น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องที่สภามอบหมาย และเมื่อปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้ว คณะกรรมาธิการนั้นย่อมพ้นจากตำแหน่ง.
น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร หรือวุฒิสภา เลือกและแต่งตั้งจากสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นประจำ.
(กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ.
ว. ไม่ใช่ธรรมดา, ไม่ใช่สามัญ, เช่น ข้าราชการวิสามัญ สมาชิกวิสามัญ ประชุมสมัยวิสามัญ, พิเศษเฉพาะเรื่อง เช่น คณะกรรมาธิการวิสามัญ.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
คณะกรรมาธิการของสภา (นิติบัญญัติ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. การให้มาชี้แจง (ต่อคณะกรรมาธิการของสภา)๒. การสืบพยาน๓. การฟังความคิดเห็นของประชาชน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เทศบาลแบบคณะกรรมาธิการ (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน (อังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การส่งร่างกฎหมายกลับ (คณะกรรมาธิการ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การส่งร่างกฎหมายกลับ (คณะกรรมาธิการ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การส่งร่างกฎหมายให้คณะกรรมาธิการพิจารณา๒. การมอบคดีให้ทนายความที่ศาลตั้ง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการพิจารณาข้อบังคับของสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. คณะกรรมการเฉพาะกิจ๒. คณะกรรมาธิการเฉพาะกิจ๓. คณะกรรมาธิการวิสามัญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการจัดลำดับร่างกฎหมาย[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. คณะกรรมการเฉพาะกิจ๒. คณะกรรมาธิการวิสามัญ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คณะกรรมาธิการเฉพาะสมัยประชุม (อังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการสามัญประจำสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการสามัญประจำสภา (นิติบัญญัติ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คณะกรรมาธิการพิเศษ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการที่ปรึกษา, คณะกรรมการที่ปรึกษา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการร่วม (ระหว่างประเทศ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. คณะกรรมการร่วม๒. คณะกรรมาธิการร่วมกัน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการพิจารณาร่างกฎหมาย[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการพิจารณาวิธีการจัดหารายได้ (ของสภานิติบัญญัติ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สำนักงานคณะกรรมาธิการ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการพิจารณาข้อบังคับของสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการพิจารณาร่างกฎหมาย[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการพิจารณางบประมาณ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. คณะกรรมการร่วม๒. คณะกรรมาธิการร่วมกัน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. คณะกรรมการเฉพาะกิจ๒. คณะกรรมาธิการเฉพาะกิจ๓. คณะกรรมาธิการวิสามัญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการเฉพาะสมัยประชุม (อังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการจัดลำดับร่างกฎหมาย[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการพิเศษ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการสามัญประจำสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, คณะมนตรี๒. การเข้าประจำการ๓. การขึ้นระวาง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เทศบาลแบบคณะกรรมาธิการ (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
หัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ประจำคณะกรรมาธิการ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการที่ปรึกษา, คณะกรรมการที่ปรึกษา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการร่วม (ระหว่างประเทศ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การประชุมร่วม (ของผู้แทนองค์กรต่าง ๆ) (ก. ปกครอง)๒. การประชุมของคณะกรรมาธิการร่วมระหว่างสองสภา (ก. รัฐธรรมนูญ)๓. การปรึกษาระหว่างลูกความกับทนายความ (ป. วิ. อาญา)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. การส่งร่างกฎหมายให้คณะกรรมาธิการพิจารณา๒. ข้อผูกมัด, พันธกรณี๓. หมายจำคุก[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. คณะกรรมการ๒. คณะกรรมาธิการ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
หัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ประจำคณะกรรมาธิการ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการเต็มสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การถอนเรื่อง (จากคณะกรรมาธิการ)๒. การปลด (ทหารออกจากประจำการ)๓. การปลดปล่อย (จากที่คุมขังหรือพันธกรณี)๔. การให้พ้นจากตำแหน่ง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการพิจารณางบประมาณ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การให้มาชี้แจง (ต่อคณะกรรมาธิการของสภา)๒. การสืบพยาน๓. การฟังความคิดเห็นของประชาชน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การให้มาชี้แจง (ต่อคณะกรรมาธิการของสภา)๒. การสืบพยาน๓. การฟังความคิดเห็นของประชาชน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการเต็มสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
กัมมันตภาพ, <em>การสลาย</em>ของ<em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ต่อหน่วยเวลา ปัจจุบันหน่วยที่ใช้ คือ <em>เบ็กเคอเรล</em> คำนี้ตามรายงานฉบับที่ 33 ของคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านหน่วยและการวัดรังสี (International Commission on Radiation Units and Measurement: ICRU No. 33) ให้ความหมายว่า เป็นจำนวนของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในขณะใดขณะหนึ่งที่สลายเปลี่ยนแปลงไปต่อวินาที (ดู Becquerel, Bq และ Curie, Ci ประกอบ)[นิวเคลียร์]
ขีดจำกัดปริมาณรังสี, ค่ากำหนดสูงสุดของปริมาณรังสียังผลหรือปริมาณรังสีสมมูลที่บุคคลอาจได้รับจากการดำเนินกิจกรรมทางรังสี ซึ่งคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านการป้องกันรังสี (International Commission on Radiation Protection, ICRP) ได้กำหนดขีดจำกัดปริมาณรังสีไว้ดังนี้ 1. ผู้ปฏิบัติงาน -ปริมาณรังสียังผลเฉลี่ยไม่เกิน 20 มิลลิซีเวิร์ตต่อปีในระยะเวลา 5 ปีติดต่อกัน โดยในปีใดปีหนึ่งต้องได้รับปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 50 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่เลนส์ตา ไม่เกิน 150 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่มือและเท้า หรือที่ผิวหนัง ไม่เกิน 500 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี 2. บุคคลทั่วไป ปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 1 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี โดยไม่รวมปริมาณรังสีจากธรรมชาติและปริมาณรังสีจากการรักษาพยาบาลทางการแพทย์ ทั้งนี้ในทางปฏิบัติต้องจำกัดให้ได้รับรังสีน้อยที่สุด (ดู sievert ประกอบ)[นิวเคลียร์]
คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านการป้องกันรังสี[นิวเคลียร์]
คณะกรรมาธิการ[TU Subject Heading]
คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ แปซิฟิกExample:องค์กรถาวรของสหประชาชาติ มีหน้าที่ส่งเสริมความร่วมมือในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิก เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคม เอสแคปกำเนิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2517 สาขาของงานที่เอสแคปให้ลำดับความสำคัญมาก มี 6 สาขา ได้แก่ อาหารและการเกษตร พลังงาน วัตถุดิบ การถ่ายทอดเทคโนโลยี การจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาชนบท เอสแคปมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเทพฯ มีสมาชิกในภูมิภาครวม 39 ประเทศ [สิ่งแวดล้อม]
การประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 "[การทูต]
คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นคณะกรรมาธิการหลัก ซึ่งรับผิดชอบในการเสาะหามาตรการในการส่งเสริมเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งตรวจสอบและสอดส่องการดำเนินการด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชนในประเทศต่าง ๆ ด้วย คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ มาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี คณะกรรมาธิการฯ โดยจะมีการประชุมเป็นประจำทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ณ นครเจนีวา ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2544-2546[การทูต]
คณะกรรมาธิการยาเสพติด[การทูต]
คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น[การทูต]
คณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน (ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมาธิการฯ สำหรับวาระปี พ.ศ. 2548-2550)[การทูต]
คณะกรรมาธิการว่าด้วยสถานภาพสตรี[การทูต]
คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและ แปซิฟิก มีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงเทพฯ[การทูต]
คณะกรรมาธิการว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานระหว่าง ประเทศ[การทูต]
ดูที่ UNCHF = ศูนย์เพื่อการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ ทำหน้าที่เป็นสำนักเลขาธิการของคณะกรรมาธิการว่าด้วยการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ (Commission on Human Settlements) ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงานกิจกรรมการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ของสหประชา ชาติที่เน้นในเรื่องที่พักพิง (shelter) และบริการทางสังคม การจัดการเมือง สิ่งแวดล้อมและโครงสร้างพื้นฐาน และการประเมิน ติดตามข่าวสารข้อมูลทางด้านการตั้งถิ่นฐานมนุษย์[การทูต]
คณะกรรมาธิการพนักงานพลเรือนระหว่างประเทศ[การทูต]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น[การทูต]
คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[การทูต]
คือคณะกรรมการกฎหมายระหว่างประเทศของสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมปรับปรุงกฎหมายระหว่า ประเทศ รวมทั้งการทำประมวลกฎหมายให้ก้าวหน้าและทันสมัยคณะกรรมาธิการนี้ประกอบด้วย สมาชิกรวม 25 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งสมาชิกคราวละ 5 ปี และจะทำงานในคณะกรรมาธิการในฐานะตัวบุคคล มิใช่เป็นตัวแทนจากประเทศของตน ตลอดการประชุมสมัชชาสหประชาชาติเป็นจำนวนหลายสมัยมาแล้ว คณะกรรมาธิการได้ทำหน้าที่ร่างกฎหมายในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อย บางเรื่องได้ริเริ่มขึ้นเองโดยคณะกรรมาธิการ แต่บางเรื่องทางสมัชชาสหประชาชาติหรือคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ได้ส่งไปให้พิจารณาดำเนินการคณะกรรมาธิการได้ร่างสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทาง ทะเลไปแล้วไม่น้อยกว่า 4 ฉบับ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง อนุสัญญาว่าด้วยอาณาเขตทางทะเลและพื้นที่ติดชายฝั่งอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับ ปลา การอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิตในท้องทะเลหลวง พร้อมทั้งได้รับสัตยาบันสารจากประเทศต่าง ๆ ไว้แล้วเป็นจำนวนมาก เมื่อ ค.ศ.1961 และ 1963 คณะกรรมาธิการได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สองครั้งตามลำดับ ณ กรุงเวียนนา พร้อมทั้งได้ลงมติรับรองอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล[การทูต]
คณะกรรมาธิการร่วม " เป็นกลไกความร่วมมือในระดับทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก JC มีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมความสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน วัฒนธรรม และสังคม โดยแต่ละฝ่ายจะสลับกันเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม ซึ่งอาจมีขึ้นปีละครั้งหรือ 2-3 ปีต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความสะดวกของทั้งสองฝ่าย JC อาจมีกลไกย่อยหรือคณะกรรมการภายใต้ JC เพื่อกำกับดูแลเฉพาะเรื่องหรือมีคณะกรรมการในระดับส่วน ภูมิภาค เช่น ไทยกับมาเลเซียมีคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee - GBC) มีบทบาทในการดูแลความร่วมมือด้านการทหารและความมั่นคงบริเวณชายแดน และมีคณะกรรมการจัดทำหลักเขตแดนทางบก (Land Boundary Committee - LBC) เพื่อดูแลการจัดทำหลักเขตแดนระหว่างประเทศทั้งสอง นอกจากนั้น ยังมีคณะกรรมการร่วมทางการค้า (Joint Trade Committee - JTC) ระหว่างไทยกับบางประเทศ เป็นกลไกเพื่อส่งเสริมการค้าและขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน "[การทูต]
คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง[การทูต]
ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน[การทูต]
คณะกรรมาธิการเสริมสร้างสันติภาพ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2548 เพื่อให้คำปรึกษาเรื่องการเสวริมสร้างสันติภาพในกรอบสหประชาชาติแก่ประเทศ ที่เพิ่งผ่านพ้นความขัดแย้ง รวมทั้งเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อระหว่างกระบวนการสร้างสันติภาพ (peace enforcement) การรักษาสันติภาพภาพ (peacekeeping) และการเสริมสร้างสันติภาพ (peacebuilding)[การทูต]
ศูนย์เพื่อการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ ทำหน้าที่เป็นสำนักเลขาธิการของคณะกรรมาธิการว่าด้วยการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ (Commission on Human Settlements) ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงานกิจกรรมการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ของสหประชา ชาติที่เน้นในเรื่องที่พักพิง (shelter) และบริการทางสังคม การจัดการเมือง สิ่งแวดล้อมและโครงสร้างพื้นฐาน และการประเมิน ติดตามข่าวสารข้อมูลทางด้านการตั้งถิ่นฐานมนุษย์[การทูต]
กัมมันตภาพรังสี, คือ การสลายตัวของนิวไคล์กัมมันตรังสีต่อหน่วยเวลา หน่วยที่ใช้คือ เบ็กเคอเรล ตามรายงานฉบับที่ 33 ของคณะกรรมาธิการ ระหว่างประเทศว่าด้วยหน่วยและการวัดรังสี (International Commission on Radiation Units and Measurements : ICRU No.33) ให้ความหมายคำนี้ว่า เป็นจำนวนของนิวไคล์กัมมันตรังสีในขณะใดขณะหนึ่ง ที่สลายตัวเปลี่ยนแปลงไปต่อวินาที[พลังงาน]
คณะกรรมาธิการว่าด้วยการป้องกันรังสีระหว่างประเทศ[การแพทย์]
คณะกรรมาธิการเอนไซม์นานาชาติ, คณะกรรมาธิการนานาชาติ, คณะกรรมาธิการเอ็นไซม์นานาชาติ[การแพทย์]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เรียกคณะกรรมาธิการ ใช้อ่างอึลงไปที่โรงพยาบาลThe Shawshank Redemption (1994)
เขารู้ว่าทำไมเขาให้ฉัน คณะกรรมาธิการของเขาHow I Won the War (1967)
S.R. กัสตาฟสัน, คณะกรรมาธิการควบคุมเกมของรัฐChapter Fifteen 'Run!' (2007)
S.R. Gustafson, คณะกรรมาธิการควบคุมเกมของรัฐChapter Sixteen 'Unexpected' (2007)
นับเป็นการสูญเสียประชากร\ มากที่สุด... คณะกรรมาธิการข่าวกรอง สภาผู้แทน และ วุฒิสภา เปิดการประชุมลับEagle Eye (2008)
เป็นที่ปรึกษาของคณะกรรมาธิการวางแผนเมืองThe Legend (2008)
คุณช่วยติดต่อหัวหน้าสมาชิกคณะกรรมาธิการให้หน่อยEpisode #1.8 (2009)
แล้วทางคณะกรรมาธิการเกณฑ์ทหาร ไม่ได้ทำอย่างนั้นกับคุณเหรอThe Couple in the Cave (2010)
เรเชล แมคมิลเลี่ยน ผู้ช่วยทูตคณะกรรมาธิการVengeance, Part 1 (2012)
สักวันหนึ่ง เราคงได้ชี้แจงเรื่องในวันนี้ ต่อหน้าการไต่สวนของคณะกรรมาธิการวุฒิสภาThe Freelancer (No. 145) (2013)
ต้องขอบคุณเขา ที่ทำให้เราสามารถดับฟัง คณะกรรมาธิการทหารของเมืองได้ทั้งหมดWujing (No. 84) (2013)
มีทั้งนายกเทศมนตรี สมาชิกสภา ผู้พิพากษากว่าครึ่ง และพวกพระที่หลบอยู่หลังประตู โห่ร้องที่คณะกรรมาธิการThe Balloonman (2014)
แล้วก็ บราวน์กับคณะกรรมาธิการการศึกษาTed 2 (2015)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[khanakammāthikān] (n) EN: commission  FR: commission [ f ]
Longdo Approved EN-TH
(n)คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ
Hope Dictionary
(คะมิช'เชิน) { commissioned, commissioning, commissions } n. การมอบหมายหน้าที่, การมอบหมาย, อำนาจที่มอบหมายให้, เอกสารมอบอำนาจ, คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายอำนาจให้กระทำบางอย่าง, คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, ค่านายหน้า, ค่าคอมมิชชั่น, สัญญาบัตร -Phr. (in commission เข้าประจ
(เคา'เซิล) n. สภา, คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, กลุ่มคณะนิติบัญญัติ, กลุ่มคณะที่ปรึกษา, การประชุม, องค์กรร่วม, คณะมนตรี -Conf. counsel
Nontri Dictionary
(n)ค่านายหน้า, ค่าคอมมิชชั่น, คณะกรรมาธิการ, การแต่งตั้ง
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(org)คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง
(abbrev)คณะกรรมาธิการยุโรปSyn.Europran Commission
(n)คณะกรรมาธิการยุโรปSyn.EC
คณะกรรมาธิการการค้า
Federal Trade Commission. คณะกรรมาธิการการค้า
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ