(แอม' พลิไฟ) vt. ขยายใหญ่ขึ้น, ขยายความ, ขยายความถี่ของการสั่นสะเทือน
(คันคัส'เชิน) n. การสั่นสะเทือน, การปะทะอย่างแรง, การกระเทือนที่เกิดจากการกระทบกระแทก, ภาวะสมองไขสันหลัง หรืออื่น ๆ ถูกกระทบอย่างแรง., See Also:concussant adj. ดูconcussion concussive adj. ดูconcussion, Syn.shaking, shoc
(คันวัล'เชิน) n.อาการชักกระตุก, การหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง, การสั่นอย่างรุนแรง, การหัวเราะท้องแข็ง, Syn.fit, spasm, tremor
(-ทรี'เมนซฺ) n. อาการกระสับกระส่ายอย่างรุนแรงเนื่องจากพิษสุราเรื้อรัง, มีอาการสั่นอาการประสาทหลอน
(ดิธ'เธอะ) n. การสั่น, การสั่นสะเทือน, ความตื่นเต้น, ความกลัว. vi. สั่น, สั่นสะเทือน
ย่อมาจาก hertz เป็นหน่วยวัดการสั่นสะเทือนของกระแสไฟฟ้าที่ใช้จำนวนมาก ๆ เพื่อวัดความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกทีหนึ่ง 1 เฮิร์ทซ์ เท่ากับ 1 รอบต่อวินาที เมื่อวัดกันในขนาดจำนวนมากจริง ๆ จึงใช้หน่วยใหญ่ที่เรียกว่า เมกะเฮิร์ทซ์ (megahertz) ใช้ตัวย่อว่า MHz ไมโครคอมพิวเตอร์ปัจจุบันจะทำงานด้วยความเร็วประมาณ 25 - 60 เมกะเฮิร์ทซ์
(จาร์) { jarred, jarring, jars } n. กระปุก, ขวดปากกว้าง, เหยือก, โอ่ง, ไห, โถ, เสียงสั่นสะเทือนระคายหู, การสั่นสะเทือน, อาการช็อค, ความไม่เห็นด้วย v. สั่นสะเทือน, ขัดแย้ง, ชนโครม, ไม่เห็นด้วย, See Also:jaringly adv. ดูjar, Syn.vibrate
(โจลทฺ) { jolted, jolting, jolts } vt., vi., n. (การ) กระทุ้ง, กระแทก, เขย่า, ทำให้สั่นไหว, ทำให้ส่าย, ต่อยจนมึน, ทำให้งงงวย, บุกรุก, ทำให้วุ่นวาย, สิ่งที่ทำให้เกิดการสั่นไหว, ความพ่ายแพ้อย่างกะทันหัน, การปฏิเสธอย่างกะทันหัน., See Also:jolter n. ดูjolt joltingl
(ออสซะเล'เชิน) n. การแกว่ง, การส่าย, การสั่น, การรัว, ความลังเลใจ, Syn.vibration, vacillation
(แพลพิเท'เชิน) n. การเต้น, การสั่น, การสั่นระรัว, การสั่นรัว
n. โรคประสาทชนิดหนึ่งที่มีอาการสั่น
(พัลเซ'เชิน) n. การเต้นเป็นจังหวะ, ชีพจร, การขยายตัวและหดตัวเป็นจัวหวะ, การเต้น, การสั่น., See Also:pulsational adj., Syn.vibration
(พัล'เซอะ) n. เครื่องทำให้เกิดการสั่นสะเทือน
(เคว'เวอะ) vi. สั่น, สั่นเทา, vi. พูดเสียงสั่น, n. การสั่น, เสียงสั่น, เสียงดนตรีเสียงที่8, See Also:quaverer n. quaveringly adv. quavery adj. quaverous adj., Syn.tremble, vibrate
(เรซ'ซะเนินซฺ) n. เสียงก้อง, เสียงสะท้อน, เสียงกังวาน, เสียงรัว, การสั่นที่ทำให้เกิดเสียงก้อง, (เสียง) การได้ระดับกัน, การได้เสียงคู่แปด
(ชิพ'เวอะ) vi. สั่น, สั่นระริก, ตัวสั่น (ใบเรือ) ปลิวสะบัด, แตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย, แตกออก, ทำให้แตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย, ตีแตก n. การสั่น, การสั่นระริก, ตัวสั่น, เศษ, ชิ้นที่แตก, เศษที่แตก, See Also:shiverer n. shiveringly adv.
(ชอค) n. การกระทบกระแทกอย่างกะทันหัน, อาการสะเทือน, อาการสะเทือนทางใจอย่างกะทันหัน, อาการตื่นตะลึง, ความสะดุ้งตกใจ, อาการสั่นกระตุก, อาการเป็นลม, อาการแน่นิ่งไปอย่างกระทันหัน. vt. ทำให้ตะลึงงัน, ทำให้สะดุ้งตกใจ, เขย่าขวัญ, ทำให้สะเทือน, กระทบอย่างแรง, ตีอย่างแรง. vi.ตะลึงงัน, สดุ้งตกใจ
(ชัด'เดอะ) vi. สั่นกระตุก, สั่นระริก, สั่นเทา, ตัวสั่น. n. การสั่น ดังกล่าว., Syn.shake
(เทรม'บลิง) n. การสั่นเทา, การสั่นสะเทือน, Syn.shaking
(เทรม'เมอ) n. การสั่นเทาของร่างกาย, การสั่น, See Also:tremorous adj.
(เทรพพิเด'เชิน) n. การสั่นระริก, การสั่น, การสั่นเทา, การสั่นสะเทือน, ความกังวลใจ, อาการกระตุกของกล้ามเนื้อ, Syn.anxiety, apprehension, panic, nerves