ผักกระป๋อง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ข้าวโพดกระป๋อง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เนื้อวัวกระป๋อง[TU Subject Heading]
ข้าวโพดกระป๋อง[TU Subject Heading]
เนื้อปูกระป๋อง[TU Subject Heading]
ปลากระป๋อง[TU Subject Heading]
อุตสาหกรรมปลากระป๋อง[TU Subject Heading]
ผลิตภัณฑ์ประมงกระป๋อง[TU Subject Heading]
อาหารกระป๋อง[TU Subject Heading]
อุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง[TU Subject Heading]
ผลไม้กระป๋อง[TU Subject Heading]
อุตสาหกรรมผลไม้กระป๋อง[TU Subject Heading]
น้ำผลไม้กระป๋อง[TU Subject Heading]
เห็ดกระป๋อง[TU Subject Heading]
สับปะรดกระป๋อง[TU Subject Heading]
ปลาซาร์ดีนกระป๋อง[TU Subject Heading]
อาหารทะเลกระป๋อง[TU Subject Heading]
ผักกระป๋อง[TU Subject Heading]
โรงงานบรรจุอาหารกระป๋อง[TU Subject Heading]
อุตสาหกรรมปลาทูน่ากระป๋อง[TU Subject Heading]
เครื่องบดบีบกระป๋อง[สิ่งแวดล้อม]
เครื่องบีบกระป๋อง[สิ่งแวดล้อม]
กระป๋องขยะ, Example:ถังขยะใบเล็ก [สิ่งแวดล้อม]
กระป๋องน้ำอัดลม[สิ่งแวดล้อม]
ธนาคารกระป๋อง, Example:ดู Bottle Bank (Bottle Bank หมายถึง ที่สำหรับรวบรวมขวดที่ใช้แล้วเพื่อนำไปหลอม กลับมาใช้ใหม่ มักแยก ประเภทตามสีแก้วและชนิดพลาสติก)[สิ่งแวดล้อม]
การทำให้ปลอดจากเชื้อจุลินทรีย์ด้วยรังสี, คือ การนำอาหารประเภทเนื้อสัตว์ หรือผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ซึ่งบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิท ไปผ่านการฉายรังสีแกมมา หรือรังสีเอกซ์ หรืออิเล็กตรอน ด้วยปริมาณรังสีสูงกว่า 10 กิโลเกรย์ เพื่อฆ่าจุลินทรีย์ทั้งหมดที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคหรือจุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารเน่าเสีย ยังผลให้อาหารนั้นเก็บได้นานหลายเดิอน หรือเป็นปี โดยไม่ต้องใช้ความเย็น เช่น การทำอาหารแช่แข็ง หรือใช้ความร้อน เช่น การทำอาหารกระป๋อง ตัวอย่างอาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อทำให้ปลอดจุลินทรีย์ ได้แก่ เนื้อวัว เนื้อไก่งวงรมควัน อาหารสำหรับคนไข้ และอาหารสำหรับมนุษย์อวกาศ[พลังงาน]
ชนิดกระป๋องอัดความดัน, ฉีดพ่น, วิธีพ่น[การแพทย์]
ยาฆ่าแมลงชนิดกระป๋องอัดอากาศ[การแพทย์]
การทำอาหารกระป๋อง[การแพทย์]
โบตุลิสม, อาหารเป็นพิษ, โรคโบทูลิซั่ม, โรคโบทูลิสซึม, ภาวะอาหารเป็นพิษ, เชื้อโบทูลิซั่ม, พิษอาหารกระป๋อง, โรคโบทูลิสม์, เชื้อโบตูลิซึม[การแพทย์]
กระป๋องสเปรย์, กระป๋องบรรจุละอองอากาศ[การแพทย์]
ฟรีออน, สารประกอบอินทรีย์พวกคลอโรฟลูออโรคาร์บอนสลายตัวยาก ไม่มีสี และไม่ติดไฟ ทำให้เป็นของเหลวหรือเป็นไอได้ง่าย ใช้เป็นสารทำให้เกิดความเย็นในเครื่องทำความเย็นหรือทำให้เกิดแรงดันในกระป๋องสเปรย์ต่าง ๆ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การถนอมอาหาร, การเก็บรักษาอาหารโดยยังคงรักษาสมบัติของอาหารนั้นไว้ให้ได้มากที่สุด เช่น การแช่แข็ง การตากแห้ง การบรรจุกระป๋อง การอาบรังสี เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขยะรีไซเคิล, ขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ เช่น แก้ว กระดาษ กระป๋องเครื่องดื่ม เศษพลาสติก เศษโลหะ อะลูมิเนียม ยางรถยนต์ เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
กระป๋องฟิล์มภาพยนตร์, Example:กระป๋องฟิล์มภาพยนตร์ (Film can) เป็นภาชนะที่มีรูปร่างเป็นแผ่นกลมแบนตื้นทำจากโลหะหรือพลาสติกแข็งที่มีฝาปิดแน่นหนามีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่าง ๆ สำหรับการจัดเก็บและการขนส่งฟิล์มภาพยนตร์ที่อยู่ในวงล้อหรือแกน แต่เดิมฟิล์มภาพยนตร์เก็บไว้ในกระป๋องฟิล์มภาพยนตร์ที่ทำจากเหล็ก (ทั้งเคลือบหรือไม่เคลือบผิว) อลูมิเนียมหรือพลาสติกบางประเภท จากมาตรฐาน ISO เสนอแนะว่าภาชนะ ที่บรรจุฟิล์มควรเป็นพอลิโพรไพลีน (Polypropylene) หรือโพลีเอทิลีน (Polyethylene) สำหรับกระป๋องฟิล์มพลาสติก ถ้าเป็นกระป๋องฟิล์มที่ทำจากโลหะ โลหะที่ใช้ไม่ควรถูกกัดกร่อนเป็นสนิมง่าย ความแข็งของกระป๋องฟิล์มภาพยนตร์สามารถป้องกันฟิล์มภาพยนตร์จากรอยขีดข่วน ฝุ่นและสัตว์หรือแมลงที่เป็นภัยต่าง ๆ กระป๋องฟิล์มยังสามารถป้องกันน้ำในระยะสั้น ๆ และอาจจะชะลออัตราการแพร่กระจายของสารมลพิษจากสภาพแวดล้อม กระป๋องฟิล์มเป็นตัวกั้นกลางผลกระทบจากสภาพแวดล้อมภายนอก โดยสามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศภายในกระป๋องฟิล์มได้<br> <br>ในการเปิดกระป๋องฟิล์มภาพยนตร์ที่เป็นสนิมหรือมีรอยบุบ ให้ตีเบา ๆ ที่ด้านนอกของกระป๋องฟิล์มเพื่อทำให้ฝาหลวม ถ้าจำเป็นให้ใช้ไขควงหรืออุปกรณ์อื่นที่คล้ายกันเพื่อแงะฝาที่ปิดได้ แต่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษเพื่อไม่ให้ฟิล์มภาพยนตร์เสียหาย กระป๋องฟิล์มที่ใส่ฟิล์มภาพยนตร์ให้ทำเครื่องหมายและติดป้ายชื่อบอกไว้ ทั้งนี้ควรติดป้ายไว้ด้านนอกของกล่องฟิล์ม ไม่ควรใส่วัสดุอื่น ๆ ไว้ภายในกล่องฟิล์มโดยเฉพาะอย่างยิ่งกระดาษและโดยเฉพาะกระดาษที่พิมพ์ด้วยหมึกพิมพ์ เนื่องจากกระดาษอาจมีกรดและเป็นแหล่งที่มาของความชื้นและฝุ่นละออง นอกจากนั้นไม่ควรให้มีกาวและยางรัดภายในกล่องด้วยเช่นกันเนื่องจากวัสดุเหล่านี้เป็นแหล่งที่มาของตัวทำละลาย กำมะถันและตัวออกซิไดซ์ที่เป็นอันตราย และควรวางภาชนะที่บรรจุฟิล์มให้ซ้อนกันในแนวนอนเพื่อให้ม้วนฟิล์มวางในแนวราบ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]