บทความ
Premium
Word Game
CTA
เกี่ยวกับ
Classic version
ภาษาไทย
Log in
Log in
แปลศัพท์
PopThai
แปลศัพท์
US
36
ผลลัพธ์ สำหรับ
ไม้ ๑
ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น:
-ไม้ ๑-
,
*ไม้ ๑*
ภาษา
ไทย-ไทย:
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
[with local updates]
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ไม้ ๑
น. คำรวมเรียกพืชทั่วไป โดยปรกติมีราก ลำต้น กิ่ง ก้าน และใบ, เรียกเนื้อของต้นไม้ที่ใช้ทำสิ่งของต่าง ๆ มีลักษณะเป็นท่อน แผ่น หรือดุ้น เป็นต้น, คำประกอบหน้าสิ่งของบางอย่างที่มีลักษณะยาวซึ่งทำด้วยไม้หรือเดิมทำด้วยไม้ เช่น ไม้กวาด ไม้พาย ไม้เท้า ไม้จิ้มฟัน, คำนำหน้าบอกประเภทต้นไม้ เช่น ไม้ยาง ไม้ดำ ไม้แดง, ท่ารำและท่าตีกระบี่กระบองท่าหนึ่ง ๆ เรียกว่า ไม้หนึ่ง ๆ, โดยปริยายหมายความว่า ท่าที เช่น เขาจะมาไม้ไหน, ลักษณนามเรียกของเช่นปลาย่างที่เสียบไม้เรียงเป็นตับว่า ปลาไม้หนึ่ง ปลา ๒ ไม้, เรียกผ้าที่ม้วนโดยมีไม้อยู่ข้างใน ว่า ผ้าไม้หนึ่ง ผ้า ๒ ไม้
ไม้ ๑
เรียกลักษณะของสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมไทยที่ย่อตรงมุมของฐาน แท่น เสา หรือเครื่องยอด เป็นมุมเล็ก ๆ มุมละ ๓ มุม รวม ๔ มุมใหญ่ ได้ ๑๒ มุมเล็ก ว่า ย่อไม้สิบสอง หรือ ย่อมุมไม้สิบสอง แม้ย่อมากกว่ามุมละ ๓ ก็ยังเรียกว่า ย่อไม้สิบสอง หรือ ย่อมุมไม้สิบสอง.
กระแตไต่
ไม้ ๑
น. ชื่อกลบท ตัวอย่างว่า หมายหมองมาดสวาทน้องมาดหมองหมาย
กระแตไต่
ไม้ ๑
ชื่อเพลงโหมโรงเสภา เดิมเป็นเพลงไทยภาคเหนือสำเนียงลาว ต่อมามีผู้นำมาแต่งขยายเป็นอัตรา ๓ ชั้น โดยใช้ชื่อเดิม.
กระแตไต่
ไม้ ๑
ดูใน กระแต ๒
.
เข้า
ไม้ ๑
ก. นำไม้ตั้งแต่ ๒ ชิ้นขึ้นไปมาบากรับแล้วประกอบเข้าด้วยกัน ยึดไม้นั้นให้แน่นอยู่ในรูปแบบที่ต้องการด้วยการตอกตะปูหรือตอกอัดด้วยลูกสลักไม้ การต่อหรือประกอบอาจทำได้หลายวิธี.
ดอก
ไม้ ๑
น. ฟันของเด็กที่แรกขึ้น.
ดอก
ไม้ ๑
ดูใน ดอก ๑
.
ตัว
ไม้ ๑
น. ไม้เครื่องเรือนที่ปรุงไว้เพื่อคุมกันเข้าเป็นเรือน.
น้ำดอก
ไม้ ๑
, น้ำดอกไม้สด
น. นํ้าที่ลอยดอกมะลิเป็นต้น มีกลิ่นหอม ใช้ผสมทำขนม ทำเป็นน้ำข้าวแช่ ทำน้ำอบไทย เป็นต้น.
น้ำดอก
ไม้ ๑
ดูใน นํ้า
.
ใบ
ไม้ ๑
น. ส่วนของพืชที่มีหน้าที่หายใจ คายนํ้า เก็บอาหาร สืบพันธุ์.
ใบ
ไม้ ๑
ดูใน ใบ
.
ลูก
ไม้ ๑
น. ผลไม้, ลักษณนามว่า ผล.
ลูก
ไม้ ๑
ดูใน ลูก
.
หาไม่ ๑
ก. ใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า ไม่, ไม่มี, เช่น เขาจะสำนึกผิดก็หาไม่ เขาจะมีความเกรงใจสักนิดก็หาไม่
หาไม่ ๑
สิ้นสุด เช่น จนกว่าชีวิตจะหาไม่.
เอื้อง ๑
น. ต้นกล้วยไม้.
(ดู กล้วย
ไม้ ๑
)
ไทย-ไทย:
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
[with local updates]
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระแตไต่
ไม้ ๑
น. ชื่อกลบท ตัวอย่างว่า หมายหมองมาดสวาทน้องมาดหมองหมาย
กระแตไต่
ไม้ ๑
ชื่อเพลงโหมโรงเสภา เดิมเป็นเพลงไทยภาคเหนือสำเนียงลาว ต่อมามีผู้นำมาแต่งขยายเป็นอัตรา ๓ ชั้น โดยใช้ชื่อเดิม.
กระแตไต่
ไม้ ๑
ดูใน กระแต ๒
.
เข้า
ไม้ ๑
ก. นำไม้ตั้งแต่ ๒ ชิ้นขึ้นไปมาบากรับแล้วประกอบเข้าด้วยกัน ยึดไม้นั้นให้แน่นอยู่ในรูปแบบที่ต้องการด้วยการตอกตะปูหรือตอกอัดด้วยลูกสลักไม้ การต่อหรือประกอบอาจทำได้หลายวิธี.
ดอก
ไม้ ๑
น. ฟันของเด็กที่แรกขึ้น.
ดอก
ไม้ ๑
ดูใน ดอก ๑
.
ตัว
ไม้ ๑
น. ไม้เครื่องเรือนที่ปรุงไว้เพื่อคุมกันเข้าเป็นเรือน.
น้ำดอก
ไม้ ๑
, น้ำดอกไม้สด
น. นํ้าที่ลอยดอกมะลิเป็นต้น มีกลิ่นหอม ใช้ผสมทำขนม ทำเป็นน้ำข้าวแช่ ทำน้ำอบไทย เป็นต้น.
น้ำดอก
ไม้ ๑
ดูใน นํ้า
.
ใบ
ไม้ ๑
น. ส่วนของพืชที่มีหน้าที่หายใจ คายนํ้า เก็บอาหาร สืบพันธุ์.
ใบ
ไม้ ๑
ดูใน ใบ
.
ไม้ ๑
น. คำรวมเรียกพืชทั่วไป โดยปรกติมีราก ลำต้น กิ่ง ก้าน และใบ, เรียกเนื้อของต้นไม้ที่ใช้ทำสิ่งของต่าง ๆ มีลักษณะเป็นท่อน แผ่น หรือดุ้น เป็นต้น, คำประกอบหน้าสิ่งของบางอย่างที่มีลักษณะยาวซึ่งทำด้วยไม้หรือเดิมทำด้วยไม้ เช่น ไม้กวาด ไม้พาย ไม้เท้า ไม้จิ้มฟัน, คำนำหน้าบอกประเภทต้นไม้ เช่น ไม้ยาง ไม้ดำ ไม้แดง, ท่ารำและท่าตีกระบี่กระบองท่าหนึ่ง ๆ เรียกว่า ไม้หนึ่ง ๆ, โดยปริยายหมายความว่า ท่าที เช่น เขาจะมาไม้ไหน, ลักษณนามเรียกของเช่นปลาย่างที่เสียบไม้เรียงเป็นตับว่า ปลาไม้หนึ่ง ปลา ๒ ไม้, เรียกผ้าที่ม้วนโดยมีไม้อยู่ข้างใน ว่า ผ้าไม้หนึ่ง ผ้า ๒ ไม้
ไม้ ๑
เรียกลักษณะของสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมไทยที่ย่อตรงมุมของฐาน แท่น เสา หรือเครื่องยอด เป็นมุมเล็ก ๆ มุมละ ๓ มุม รวม ๔ มุมใหญ่ ได้ ๑๒ มุมเล็ก ว่า ย่อไม้สิบสอง หรือ ย่อมุมไม้สิบสอง แม้ย่อมากกว่ามุมละ ๓ ก็ยังเรียกว่า ย่อไม้สิบสอง หรือ ย่อมุมไม้สิบสอง.
ลูก
ไม้ ๑
น. ผลไม้, ลักษณนามว่า ผล.
ลูก
ไม้ ๑
ดูใน ลูก
.
หาไม่ ๑
ก. ใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า ไม่, ไม่มี, เช่น เขาจะสำนึกผิดก็หาไม่ เขาจะมีความเกรงใจสักนิดก็หาไม่
หาไม่ ๑
สิ้นสุด เช่น จนกว่าชีวิตจะหาไม่.
เอื้อง ๑
น. ต้นกล้วยไม้.
(ดู กล้วย
ไม้ ๑
)
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ