premium
34 ผลลัพธ์ สำหรับ 

ส ๒

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: -ส ๒-, *ส ๒*
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
คำประกอบหน้าคำอื่นที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต บ่งความว่า กอบด้วย, พร้อมด้วย, เช่น สเทวก ว่า พร้อมด้วยเทวดา.
(กะหฺรีด) น. มาตราวัดความยาว เท่ากับ ๑ เส้น ๑๑ วา ๑ ศอก หรือ ๑๒๕ ศอก, ความจุเท่ากับ ๔ อัมพณะ คือ ประมาณ ๔๔ ทะนาน.
น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Euphorbia pulcherrima (R. Grah.) Willd. ex Klotzsch ในวงศ์ Euphorbiaceae ออกดอกในฤดูหนาว มีใบประดับสีแดง, สองฤดู หรือ โพผัน ก็เรียก.
น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น ของเก่า หน้าทับปรบไก่.
(ปะรา-) น. การจับต้อง, การลูบคลำ.
ดู ราชมาษ, ราชมาส.
ดู ปากแตร ๒.
น. ชื่อไม้เถาชนิด Passiflora laurifolia L. ในวงศ์ Passifloraceae ดอกสีม่วง กลิ่นหอม
น้ำคั้นจากผลของชนิด P. edulis Sims เรียกว่า น้ำเสาวรส.
น. ชื่อไม้เถาชนิด Jacquemontia pentanthos (Jacq.) G. Don ในวงศ์ Convolvulaceae ดอกเล็ก สีคราม, แสเถา ก็เรียก.
(โสมมะนัด) น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยมะพร้าวคั่ว ไข่ขาว และน้ำตาลทราย หยอดเป็นก้อนกลม แล้วผิงให้กรอบ, โบราณเรียก โคมะนัส เพี้ยนมาจาก coconut.
น. เรียกลูกชายคนที่ ๔ ว่า ลูกไส.
น. ชื่อแมลงหลายชนิดในวงศ์ Apidae มีปีกบางใส ๒ คู่ ปีกคู่หลังเล็กกว่าปีกคู่หน้า ปากใช้ทั้งกัดอาหารและดูดกินของเหลวได้ ปล้องท้องที่อยู่ติดกับส่วนอกเล็กมาก มีขนปกคลุมตามลำตัว เป็นแมลงสังคม อยู่รวมกันเป็นฝูง แบ่งชั้นวรรณะเป็นผึ้งนางพญา ผึ้งผู้ และผึ้งงาน ผึ้งงานมีถุงสำหรับเก็บเกสรดอกไม้ที่ขาหลัง และมีเหล็กในสำหรับต่อยปล่อยน้ำพิษ ทำให้เจ็บปวด ชนิดที่รู้จักกันแพร่หลายในประเทศไทย มี ๕ ชนิด เป็นผึ้งพื้นเมืองของประเทศไทย ๔ ชนิด คือ ผึ้งหลวง ( Apis dorsataFabricius) ผึ้งโพรง ( A. cerana Fabricius) ผึ้งมิ้ม ( A. florea Fabricius) และผึ้งม้าน ( A. andrenitormis Smith) ส่วนผึ้งที่เลี้ยงกันทั่วไปนำมาจากต่างประเทศ คือผึ้งพันธุ์ (A. mellifera Linn. ), เผิ้ง ก็เรียก.
ดู คริสต์มาส ๒.
น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทไดแซ็กคาไรด์ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๖๐ °-๑๖๕ °ซ. องค์ประกอบเป็นกลูโคส ๒ โมเลกุลเชื่อมกัน เกิดขึ้นเนื่องจากเอนไซม์ไดแอสเทส ซึ่งมีในข้าวมอลต์ ทำปฏิกิริยากับแป้ง มีรสหวานน้อยกว่านํ้าตาลทราย.
ดู คริสต์มาส ๒.
ดู แส ๒.
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(กะหฺรีด) น. มาตราวัดความยาว เท่ากับ ๑ เส้น ๑๑ วา ๑ ศอก หรือ ๑๒๕ ศอก, ความจุเท่ากับ ๔ อัมพณะ คือ ประมาณ ๔๔ ทะนาน.
น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Euphorbia pulcherrima (R. Grah.) Willd. ex Klotzsch ในวงศ์ Euphorbiaceae ออกดอกในฤดูหนาว มีใบประดับสีแดง, สองฤดู หรือ โพผัน ก็เรียก.
น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น ของเก่า หน้าทับปรบไก่.
(ปะรา-) น. การจับต้อง, การลูบคลำ.
ดู ราชมาษ, ราชมาส.
คำประกอบหน้าคำอื่นที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต บ่งความว่า กอบด้วย, พร้อมด้วย, เช่น สเทวก ว่า พร้อมด้วยเทวดา.
ดู ปากแตร ๒.
น. ชื่อไม้เถาชนิด Passiflora laurifolia L. ในวงศ์ Passifloraceae ดอกสีม่วง กลิ่นหอม
น้ำคั้นจากผลของชนิด P. edulis Sims เรียกว่า น้ำเสาวรส.
น. ชื่อไม้เถาชนิด Jacquemontia pentanthos (Jacq.) G. Don ในวงศ์ Convolvulaceae ดอกเล็ก สีคราม, แสเถา ก็เรียก.
(โสมมะนัด) น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยมะพร้าวคั่ว ไข่ขาว และน้ำตาลทราย หยอดเป็นก้อนกลม แล้วผิงให้กรอบ, โบราณเรียก โคมะนัส เพี้ยนมาจาก coconut.
น. เรียกลูกชายคนที่ ๔ ว่า ลูกไส.
น. ชื่อแมลงหลายชนิดในวงศ์ Apidae มีปีกบางใส ๒ คู่ ปีกคู่หลังเล็กกว่าปีกคู่หน้า ปากใช้ทั้งกัดอาหารและดูดกินของเหลวได้ ปล้องท้องที่อยู่ติดกับส่วนอกเล็กมาก มีขนปกคลุมตามลำตัว เป็นแมลงสังคม อยู่รวมกันเป็นฝูง แบ่งชั้นวรรณะเป็นผึ้งนางพญา ผึ้งผู้ และผึ้งงาน ผึ้งงานมีถุงสำหรับเก็บเกสรดอกไม้ที่ขาหลัง และมีเหล็กในสำหรับต่อยปล่อยน้ำพิษ ทำให้เจ็บปวด ชนิดที่รู้จักกันแพร่หลายในประเทศไทย มี ๕ ชนิด เป็นผึ้งพื้นเมืองของประเทศไทย ๔ ชนิด คือ ผึ้งหลวง ( Apis dorsataFabricius) ผึ้งโพรง ( A. cerana Fabricius) ผึ้งมิ้ม ( A. florea Fabricius) และผึ้งม้าน ( A. andrenitormis Smith) ส่วนผึ้งที่เลี้ยงกันทั่วไปนำมาจากต่างประเทศ คือผึ้งพันธุ์ (A. mellifera Linn. ), เผิ้ง ก็เรียก.
ดู คริสต์มาส ๒.
น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทไดแซ็กคาไรด์ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๖๐ °-๑๖๕ °ซ. องค์ประกอบเป็นกลูโคส ๒ โมเลกุลเชื่อมกัน เกิดขึ้นเนื่องจากเอนไซม์ไดแอสเทส ซึ่งมีในข้าวมอลต์ ทำปฏิกิริยากับแป้ง มีรสหวานน้อยกว่านํ้าตาลทราย.
ดู คริสต์มาส ๒.
ดู แส ๒.
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ