น. เรียกการจบหรือสิ้นสุดลงระยะหนึ่ง ๆ ของพิธีบางอย่าง ว่า ลาหนึ่ง ๆ เช่น โห่ ๓ ลา ยํ่าฆ้อง ๓ ลา.
น. ระเบียบพิธีของการบูชา เช่น กระลาพิธีกรกุณฑ์ (เสือโค). (แผลงมาจาก กลา).
น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Etlingera elatior (Jack) R. M. Sm. ในวงศ์ Zingiberaceae ต้นคล้ายข่า สูง ๓-๔ เมตร ช่อดอกคล้ายบัวตูมแต่กลีบแข็ง สีชมพูหรือแดง มีดอกเล็ก ๆ แน่นเป็นกระจุกอยู่ภายใน ก้านช่อดอกผุดขึ้นจากดินและยาวได้ถึง ๑ เมตร หน่อและดอกอ่อนใช้เป็นอาหาร, กาหลา หรือ ดาหลา ก็เรียก, ปักษ์ใต้บางจังหวัดเรียก ปุดกะลา.
น. ชนชาติต้องสู้และไทใหญ่, กุหล่า หรือ คุลา ก็ว่า
ใช้เรียกชนต่างประเทศ เช่น เรียกชนชาติฝรั่ง ว่า กุลาขาว, เรียกชนชาติแขก ว่า กุลาดำ.
น. ชานเรือน, พื้นภายนอกเรือน, เช่น หน้าตึกเป็นบันไดขึ้น ๒ ข้างมาบรรจบกัน ตรงกลางเป็นชาลาย่อม ๆ
ที่โล่งหน้าสถานที่สำคัญ ๆ บางแห่ง เช่น ชาลาหน้าพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เทวสถานนี้สร้างเป็นชาลา ๓ ชั้นซ้อนกัน.
น. ชื่องูน้ำหลายชนิดในสกุล Enhydris และ Homalopsis วงศ์ Colubridae กินปลา เช่น สายรุ้ง [ E. enhydris (Schneider) ] ปากกว้าง [ H. buccata (Linn.) ].
(เพฺลา) น. แกนสำหรับสอดในดุมรถหรือดุมเกวียน, โดยปริยายหมายถึง แกนสำหรับให้ล้อหรือใบจักรหมุน
น. ไม้ลองในหรือกระบอกสำหรับสอดเพลาในดุมเกวียน.
(สะเหฺลา) น. ชื่อไม้ต้นชนิด Lagerstroemia loudoniiTeijsm. et Binn. ในวงศ์ Lythraceae ดอกสีชมพูถึงม่วง ออกเป็นช่อตามกิ่ง, อินทรชิต ก็เรียก.
(หงลีลา) น. ชื่อท่ารำท่าหนึ่งอยู่ในลำดับว่า นาคาม้วนหาง กวางเดินดง หงส์ลีลา.
(เหฺลา) ก. ทำให้เกลี้ยงเกลาหรือให้แหลมด้วยเครื่องมือมีมีดเป็นต้น เช่น เหลาตอก เหลาดินสอ.
น. คำรวมเรียกพืชทั่วไป โดยปรกติมีราก ลำต้น กิ่ง ก้าน และใบ, เรียกเนื้อของต้นไม้ที่ใช้ทำสิ่งของต่าง ๆ มีลักษณะเป็นท่อน แผ่น หรือดุ้น เป็นต้น, คำประกอบหน้าสิ่งของบางอย่างที่มีลักษณะยาวซึ่งทำด้วยไม้หรือเดิมทำด้วยไม้ เช่น ไม้กวาด ไม้พาย ไม้เท้า ไม้จิ้มฟัน, คำนำหน้าบอกประเภทต้นไม้ เช่น ไม้ยาง ไม้ดำ ไม้แดง, ท่ารำและท่าตีกระบี่กระบองท่าหนึ่ง ๆ เรียกว่า ไม้หนึ่ง ๆ, โดยปริยายหมายความว่า ท่าที เช่น เขาจะมาไม้ไหน, ลักษณนามเรียกของเช่นปลาย่างที่เสียบไม้เรียงเป็นตับว่า ปลาไม้หนึ่ง ปลา ๒ ไม้, เรียกผ้าที่ม้วนโดยมีไม้อยู่ข้างใน ว่า ผ้าไม้หนึ่ง ผ้า ๒ ไม้
น. ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน
สิ่งที่เกินหรือเลยจากจำนวนเต็มที่กำหนดไว้ เช่น เวลา ๒ นาฬิกาเศษ ยาว ๒ วาเศษ
น. สามเณรีที่มีอายุครบ ๑๘ ปี ก่อนอุปสมบทเป็นภิกษุณีจะต้องรักษาสิกขาบท ๖ ประการ เป็นเวลา ๒ ปี.
ลักษณนามเรียกเรือนหรือสิ่งที่มีลักษณะอย่างเรือนว่า หลัง เช่น เรือนหลังหนึ่ง ศาลา ๒ หลัง.