(แอน' นะลอก) n. = analogue อะนาล็อก เชิงอุปมานหมายถึง วิธีการเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะต่อเนื่อง เช่น วัดความเร็วของรถยนต์จากการหมุนของวงล้อ ตรงข้ามกับ ดิจิตอล (digital) ซึ่งหมายถึง การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลข นาฬิกามีใช้ทั้งสองแบบ ซึ่งจะบอกความแตกต่างระหว่างอะนาล็อกและดิจิตอลได้ชัดเจน กล่าวคือ แบบหนึ่งจะแสดงเวลาเป็นตัวเลข ส่วนอีกแบบหนึ่งใช้เข็มสั้นและเข็มยาวเป็นตัวบอกเวลา เรียกว่าแบบอะนาล็อก คอมพิวเตอร์นั้นมีสองชนิด คือชนิดอะนาล็อกและชนิดดิจิตอล แต่คอมพิวเตอร์ที่เรารู้จักกันนั้นจะเก็บเฉพาะข้อมูลที่เป็นดิจิตอล "เสียง" เป็นข้อมูลที่มีลักษณะเป็นอะนาล็อก เมื่อจะนำเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์ จะต้องถูกนำไปเปลี่ยนเป็นดิจิตอลก่อน โดยให้ผ่านอุปกรณ์ชนิดหนึ่งเรียกว่า "โมเด็ม" ดู digital เปรียบเทียบ
(อะพอส'เซิล) n. สาวกของพระเยซูคริสต์, มิชชั่นนารีแรกหรือที่รู้จักกันดีที่สุดของประเทศหรือท้องถิ่นนั้น, ผู้เผยแพร่, ผู้ปฏิรูป.
(ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม
(คอม'เมิน) adj. ร่วมกัน, ธรรมดา, สามัญ, ซึ่งรู้จักกันดีในทางเลว, พร้อมกัน, เหมือนกัน, สาธารณะ n., See Also:commons n., pl. คนสามัญ, สมาชิกสภาล่าง, ห้องอาหารขนาดใหญ่ โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย, Syn.habitual, ordinary, usual -Conf. mutu
ระบบปฏิบัติการแบบใช้จานโปรแกรมระบบที่ทำหน้าที่สั่งการให้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทำงาน ถ้าจะแปลให้ตรงตัว ก็จะเรียกได้ว่า เป็นระบบปฏิบัติการแบบที่ใช้จานบันทึกข้อมูล เรามักจะใช้คำย่อที่เป็นที่รู้จักกันดีว่า DOS (อ่านว่า ดอส) ส่วนระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ เรียกว่า OS อ่านว่า โอเอส (Operating System) ระบบปฏิบัติการที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ประเภทเทียบเคียงกับไอบีเอ็ม (IBM compatibles) หรือพีซี (PC) จะใช้ "ดอส" ที่เขียนโดยบริษัทไมโครซอฟต์ นิยมเรียกกันว่าMS-DOS หรือ Microsoft DOS ส่วนระบบปฏิบัติการที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช มีชื่อว่า System 6 หรือ 7
ตัวปรับภาพหมายถึงแผ่นวงจร (card) ที่เมื่อนำไปเสียบเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วทำให้จอภาพแสดงภาพได้ เท่าที่รู้จักกันในเวลานี้มีชื่อเรียกว่า CGA EGA VGA และ SVGA ถ้าปราศจากแผ่นวงจรเหล่านี้ แม้โปรแกรมจะเป็นโปรแกรมภาพ ก็จะแสดงภาพไม่ได้ ดู CGA EGA VGA และ SVGA
(ไอดีอี) ย่อมาจาก integrated drive electronics ซึ่งก็คือตัวประสานอีกตัวหนึ่งที่ใช้ควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดดิสก์ แบบต่าง ๆ ที่รู้จักกันดีมีหลายรูปแบบ เช่น SCSI, ESDI และ ST 506
(โนทะไร'อิที) n. ความรู้จักกันทั่วไป, ชื่อเสียงในทางไม่ดี, บุคคลที่มีชื่อเสียงในทางไม่ดี
(โนทอ'เรียส) adj. มีชื่อเสียงในทางไม่ดี, ดังกระฉ่อน, รู้จักกันทั่วไป.
(เรค'เคินไดทฺ', รีคอน'ไดทฺ) adj. ลึกซึ้งมาก, ลึกลับมาก, ซอกแซก, รู้จักกันน้อย, คลุมเครือ, See Also:reconditeness n., Syn.deep, occult, secret