ว. ใช้ประกอบคำ พี่ น้อง ลูก ว่า พี่ยา น้องยา ลูกยา, ใช้ในราชาศัพท์หมายความว่า เพศชาย เช่น พระเจ้าลูกยาเธอ.
(กฺริดตะ-, กฺริดติ-) น. เสน่ห์, อาถรรพณ์, เช่น มนตร์กฤตยานั้นซั้น เสื่อมสิ้นทุกอัน (โลกนิติ), หาแม่มดถ้วนหน้า หมู่แก้ กฤติยา (ลอ).
น. ชื่อมะเขือพันธุ์หนึ่งของชนิด Solanum melongena L. ในวงศ์ Solanaceae.
น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น นางนาฏแม่ฉายา (มโนห์รา).
น. เมีย. (ป., ส.), บางแห่งใช้หมายความว่า ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น บรรหารท่านหา แขกค้าเคียมครร ถามเขาเขาบรรยายโฉมชายา (สรรพสิทธิ์), เสียงพูดเป็น ฉายา ฉัยยา ไฉยา หรือ สายา ก็มี.
(ทะ-) ว. ดี, สำคัญ, ต้องการ, เช่น ของทยาของเจ้าตะเภาทอง (ไกรทอง), กูจะให้ขนมเข่งของทยา กินอร่อยหนักหนาประสาจน (สังข์ทอง).
น. ความสามารถในทางใดทางหนึ่ง (มักใช้ในทางตำหนิ) เช่น ไม่มีนํ้ายา หรือ หมดนํ้ายา หมายความว่า ไม่มีสติปัญญาความสามารถ หรือ หมดความสามารถ.
น. เรียกลมที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในต้นฤดูฝน ว่า ลมพัทธยา.
ว. เบา, อ่อน, น้อย เช่น ราคาเยา, มักใช้เข้าคู่กับคำ ย่อม เป็น ย่อมเยา เช่น ราคาย่อมเยา.
(-ขะหฺยา) น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง โดยมากทำด้วยไข่ขาว นํ้าตาล และกะทิ, ถ้าทำเป็นหน้าข้าวเหนียวไม่ใส่กะทิ
ขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยไข่ น้ำตาลทราย กะทิหรือนมข้น บางทีมีน้ำใบเตยเล็กน้อย กวนในกระทะ กินกับขนมปัง.
ลักษณนามเรียกยาที่ปรุงขึ้น เช่น ยาขนานหนึ่ง ยา ๒ ขนาน.
น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เขียนเป็น ไฉยา ก็มี เช่น เมื่อนั้น นางรจนาไฉยา แลเห็นสมเด็จพระมารดา กัลยาออกมารับทันที (บทละครสังข์ทอง). (ดู ชายา ๒).
น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น เมื่อนั้น นางรจนาไฉยา แลเห็นสมเด็จพระมารดา กัลยาออกมารับทันที (บทละครสังข์ทอง), เขียนเป็น ฉัยยา ก็มี. (ดู ชายา ๒).
น. ชุดยาจีน เช่น ยาเทียบหนึ่ง ยา ๒ เทียบ.
น. ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน