บทความ
Premium
Word Game
CTA
เกี่ยวกับ
Classic version
ภาษาไทย
Log in
Log in
แปลศัพท์
PopThai
แปลศัพท์
US
6
ผลลัพธ์ สำหรับ
บาท ๓
ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น:
-บาท ๓-
,
*บาท ๓*
ภาษา
ไทย-ไทย:
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
[with local updates]
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
บาท ๓
น. ส่วนหนึ่งของบทแห่งคำประพันธ์ เช่น โคลง ๔ สุภาพ บทหนึ่งมี ๔ บาท.
ขา ๒
สลึง, ใช้เฉพาะราคาทองคำที่คิดเป็นราคาเงินบาท เศษที่เป็นสลึง เรียกว่า ขา เช่น ทองคำหนัก ๑ บาท เป็นราคาเงิน ๘ บาท ๒ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสองขา ถ้าเป็นราคาเงิน ๘
บาท ๓
สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสามขา.
มหานันททายี
น. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔
บาท ๓
บาทแรก บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บาทที่ ๔ มี ๙ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๔ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น
คู่กับ นันททายี.
ไทย-ไทย:
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
[with local updates]
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
บาท ๓
น. ส่วนหนึ่งของบทแห่งคำประพันธ์ เช่น โคลง ๔ สุภาพ บทหนึ่งมี ๔ บาท.
ขา ๒
สลึง, ใช้เฉพาะราคาทองคำที่คิดเป็นราคาเงินบาท เศษที่เป็นสลึง เรียกว่า ขา เช่น ทองคำหนัก ๑ บาท เป็นราคาเงิน ๘ บาท ๒ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสองขา ถ้าเป็นราคาเงิน ๘
บาท ๓
สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสามขา.
มหานันททายี
น. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔
บาท ๓
บาทแรก บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บาทที่ ๔ มี ๙ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๔ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น
คู่กับ นันททายี.
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ