100 ผลลัพธ์ สำหรับ 

นิรุทธ์

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: -นิรุทธ์-, *นิรุทธ์*
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก. ดับแล้ว.
(กอระ-) น. กระพุ่ม เช่น สนธยากรภุมบุษ ปบังคมบำบวงสรณ (อนิรุทธ์).
ก. เบ่ง เช่น ระด่าวตึงกระเบงแขน (อนิรุทธ์)
ก. เบิก เช่น ปรดิพหุลดุลยปรดิมุข หุลดุลยอุกกลุก ก็เกริกกระเบิกหาวหบ (อนิรุทธ์).
น. ลักษณะของสิ่งที่เป็นพุ่มยอดแหลมอย่างดอกบัวตูม, (กลอน) พุ่ม เช่น ดอกพวงเผล็ดช่อ กระพุ่มห่อเกสร สลอนบุษบาบาน (ลอ), สองถันกระพุ่มกาญ- จนแมนมาเลขา (อนิรุทธ์).
(-หฺลับ-หฺลอก) ก. พลิกแพลง เช่น ก็กระลับกระลอกแทง (อนิรุทธ์).
(-แหฺม็บ) ว. หายใจแผ่ว ๆ แสดงว่าจวนจะหมดกำลัง, (โบ) เขียนเป็น กระแหมบ ก็มี เช่น กระแหมบกระเหม่นทรวง (อนิรุทธ์).
ก. ร้องไห้รํ่าไร, รํ่าไห้, เช่น เกรงอาตม์กระอืดโอย (สรรพสิทธิ์), จำนองกระอืดโอย ทุกขทรวงละลวงกาม (อนิรุทธ์).
(กฺรัง) น. เนิน เช่น กึกก้องไพรกรัง (อนิรุทธ์), อเนกทั่วไพรกรัง (ดุษฎีสังเวย).
(กฺลอน) น. ลูกตุ้ม, ขลุบ, เช่น แกว่งกลอนยรรยงยุทธ์ (อนิรุทธ์).
ก. กั้น เช่น นา ๑๖๐๐ กินเมืองเจียดเบื้ออหักรองตลุ่มกั้งกแอทาชาต (สามดวง), ดุจจันทราทิตยมณฑล เกือบกั้งเบื้องบน บุรีระเรื่อยฉายา (อนิรุทธ์).
ว. กรรเอา, กลมกล่อม, เช่น สรวญเสียงกันเอาเอา มโนเทพรังรักษ์ (อนิรุทธ์).
ว. โง่, อ่อน, ไม่รู้เท่าทัน, ไม่มีไหวพริบ, เช่น ดุจตักแตนเต้นเห็นไฟ บมิใฝ่หนีไกล กำเลากำเลาะหวังเขญ (อนิรุทธ์).
ว. สีดำ, โบราณเขียนเป็น จกรูน ก็มี เช่น ช้างสารชำนิเมามัน หลากหลากหลายพรรณ แลหน้าจกรูนแสงนิล (อนิรุทธ์).
(จาบ) น. ธนู, ศร, หน้าไม้, เช่น ชักกุทัณฑกำซาบ ด้วยลูกจาปแล่นลิ่ว (อนิรุทธ์).
ก. ระกะ เช่น โกมุทอุบลบานฉะกะ (อนิรุทธ์).
รุมกัน, ช่วยกัน, เช่น โชรมป่ายโชรมปืนโชรมโจม โชรมรุกโชรโชรม รเร่งรโรมโรมรุม (อนิรุทธ์).
(ซะ) ก. ชะ, ล้าง, เช่น ไชยสินธุสมุทรแขวงขอบ เรียบรัตนเรียงรอบ คือฝั่งสมุทรเซราะซระ (อนิรุทธ์).
(เซา) น. ซอกผา, ห้วย, เช่น ป่าดงพงหลวงตระการ เซราะเซราเขาธาร ชรลัดชรล่องดองไพร (อนิรุทธ์).
(เซาะ) ก. เซาะ เช่น ไชยสินธุสมุทรแขวงขอบ เรียบรัตนเรียงรอบ คือฝั่งสมุทรเซราะซระ (อนิรุทธ์).
(โซม) ก. รุมกัน, ช่วยกัน, เช่น จึ่งจะรุมโรมโซรมปรทยด (ม. คำหลวง ชูชก), เลือดไหลคือโชรเซราะธาร ยักษาพลพาน โซรมก็ผาดผลาญผลง (อนิรุทธ์).
ก. รุมรบกัน, เขียนเป็น โซรมรโรม ก็มี เช่น ศรสาตรสาตรา- วุธโซรมรโรมแทง (อนิรุทธ์).
ก. เลื่องลือ, ระบือไป, ดังสนั่น, เช่น เมิลมุขรุกขผกาผลาผลตระการ เซาะธารดำแคงเสียง คครึง (อนิรุทธ์).
ว. งาม, น่ารัก, เช่น นุประดับนางสนมบู เจียรจันทรดำรู หฤทัยเกิดกามา (อนิรุทธ์).
(โดน, โดระนะ) น. ซุ้ม, ประตูซุ้ม, เช่น แขลโขลญทวารจริจรวจ ตรดวจดารโดรณ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), นางจรัลโดรณจรวจจรี เชิงเทินคือคิรี คิรินทรเรืองรอบคอบ (อนิรุทธ์).
(ตฺระหฺลบ) ก. ตลบ, เขียนเป็น ตรหลบ หรือ ตระหลบ ก็มี เช่น สองก้ำกึ่งกันทานทบ แผลงศรตรหลบ ตรเลิดพันลึกนิดินบน (อนิรุทธ์), ไพร่พลเมืองนาวนาว นฤนาท แตรตระหลบก้องหล้า ส่งสยง (ยวนพ่าย), เถิดฤๅจะรื้อรบ ตระหลบวิ่งเข้าชิงแดน ฟันเสียให้นับแสน ให้เศียรขาดลงดาดดิน (พากย์นางลอย).
(ตฺระเหฺลิด) ก. เตลิด เช่น สองก้ำกึ่งกันทานทบ แผลงศรตรหลบ ตรเลิดพันลึกนิดินบน (อนิรุทธ์).
(ตฺระ-) ก. กอด, เกี่ยวพัน, เช่น ดุจมือไตรโลกยตระกอง เศิกเสี้ยนยากปอง จะป่ายจะปีนเปลืองตน (อนิรุทธ์), กระกอง ก็ว่า.
(ตฺระ-) ว. งาม เช่น ป่าดงพงหลวงตระการ เซราะเซราเขาธาร ชรลัดชรล่องดองไพร (อนิรุทธ์), น้ำพุพุ่งซ่า ไหลฉ่าฉาดฉาน เห็นตระการ (สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย เพลงเถา)
ประหลาด, แปลก, เช่น ข้าเห็นร่มชมพู ตรูรัตนพิสาล ตรงตระการกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร), เสียงแตรสังขแลพาทยเภริยนุดนตรี อึงเองบพักตี ตระการ (อนิรุทธ์)
(ตฺระ-) ว. ประเดี๋ยว, บัดใจ, ทันใด, เช่น พลิกไปมาฟื้นตื่นองค์ ในรถมาศผจง ก็ตื่นตรบัดบัดใจ (อนิรุทธ์), กระบัด ก็ใช้.
(ตฺระ-) ก. โลมเล้า, กอด, เช่น เชยแก้มลลาโลม ตระโบมจูบพระเพาพะงา บัดเดี๋ยวจะคืนมา ประสบน้องสำราญรมย์ (อนิรุทธ์), กระโบม ก็ว่า.
ประคับประคอง เช่น อุษากำสรดกล่าว คดีโดยดั่งสมสอง ชายหนึ่งมาลอบลอง ในราตรีตระอรอร (อนิรุทธ์), เกื้อกามตระอร (กฤษณา).
(ตฺริบ) ก. อิ่มเอม, เสพ, เช่น ตฤบรสสุคนธกำจร (อนิรุทธ์).
น. นม เช่น แสงสอดลอดในพระไทรพราย เดือนบ่ายต้องเต้าเจ้าวันทอง (ขุนช้างขุนแผน), บัวตูมติดขั้วบังใบ บังใบท้าวไท ว่าเต้าสุดาดวงมาลย์ (อนิรุทธ์)
(ไตฺร) ว. ไกร, ยิ่ง, เช่น ปางนั้นพระพลเทพก็เล็งศัตรูไตร สว่างไสวไหว พลพีริยโจษจรร (อนิรุทธ์).
ก. ตรวจและหมายไว้ เช่น ไตรตราหาหน้าตรวจตรา หญิงชายชายหา ก็รู้ระบิตริตรอง (อนิรุทธ์)
ว. เร็ว ๆ, พลัน ๆ, เช่น ถั่นถั่นถึงพนไพรพิศาลสุขรมย์ ชื่นชมสำราญสม สำเริง (อนิรุทธ์)
ก. อาการที่ช้างใช้ตีนหลังถีบหรือเตะ เช่น ม้วนงวงแทงธรณีดล งางอนเงยกล คือดั่งจะเสื้องสอยดาว ถีบฉัดผัดผาผาดสราว ไม้ไล่เหิรหาว ก็ฟุ้งทั้งป่าเปนไฟ (อนิรุทธ์).
ก. ล้ม, ทบ, ยอบลง, เช่น ก็กรลับกรลอกแทง ทีเดียวก็ท่าวล้มในกลางแปลง (อนิรุทธ์), ซ้ำ เช่น ก้มเกล้าท่าวทวน ทำนูญบำบวงสรวลเสร (อนิรุทธ์)
ว. เทียม, แนบ, ชิด, เช่น ใครโทจะเท่าเทียม ทำเนียมพักตรเล้าโลม เล้าลูบตระโบมโสม รูปกฤตย์ฤดีดาย (อนิรุทธ์).
น. นํ้า เช่น ปางคราสฉมจันทนคันธา เรียบเทียบทึกสรา สำรวลสำราญริมถนน (อนิรุทธ์).
ก. ทุบ, เคาะ, เช่น อันว่าพระมหาสัตว์ก็ถามเพื่อว่าดึกดื่น ตื่นนอนใครแลมาเทงทรวารพระกุฎีกูดังนี้ (ม. คำหลวง กุมาร), ตระบัดก็ให้เท้ง กระทุ่มเภรียครืนเครง กึกก้องบันลือเลวง (อนิรุทธ์).
ก. ย่อม, ล้วนแล้วไปด้วย, เช่น นี่รอยเบื้องบุญสองรา เทียรทอดรอดมา มาลุมาหล่งโดยใจ (อนิรุทธ์), เขาอันชื่อไกรลาสนั้นเทียรย่อมเงินแล (ไตรภูมิ).
(ทาดตฺรี) น. แผ่นดิน, โลก, เช่น คึกคึกเครงเครงธาษตรี คือสีหสู้สี หสีหนาทสรรทับ (อนิรุทธ์).
(นิดสะกฺรม) ก. เฉย, ปราศจากกิริยา, เช่น ใจเน่งนิษกรม (อนิรุทธ์).
ก. นิ่ง เช่น ท้าวนี้ผู้ใดหนอ มานอนเดียวสมบูรณ์เฉลา เอองคเน่งเนา ณ ในรถมลังเมลือง (อนิรุทธ์), แน่ เช่น ทางนี้ปัดไปเน่ง ครองคลายเคล่งอาศรมบทน้นน (ม. คำหลวง กุมาร).
(-อวด) น. หน้าต่าง เช่น บังอวดบังอิงอร่ามเรือง (อนิรุทธ์).
น. พนัก. (คำฤษฎี), หย่องหน้าต่าง เช่น บังอวดบังอิงอร่ามเรือง (อนิรุทธ์).
ว. บันเทิง, เบิกบาน, รื่นเริง, ยินดี, เช่น อาจให้เลื่องโลกดำเลิง หฤทัยบำเทิง คือทิพยโลกศุลี (อนิรุทธ์).
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก. ดับแล้ว.
(กอระ-) น. กระพุ่ม เช่น สนธยากรภุมบุษ ปบังคมบำบวงสรณ (อนิรุทธ์).
ก. เบ่ง เช่น ระด่าวตึงกระเบงแขน (อนิรุทธ์)
ก. เบิก เช่น ปรดิพหุลดุลยปรดิมุข หุลดุลยอุกกลุก ก็เกริกกระเบิกหาวหบ (อนิรุทธ์).
น. ลักษณะของสิ่งที่เป็นพุ่มยอดแหลมอย่างดอกบัวตูม, (กลอน) พุ่ม เช่น ดอกพวงเผล็ดช่อ กระพุ่มห่อเกสร สลอนบุษบาบาน (ลอ), สองถันกระพุ่มกาญ- จนแมนมาเลขา (อนิรุทธ์).
(-หฺลับ-หฺลอก) ก. พลิกแพลง เช่น ก็กระลับกระลอกแทง (อนิรุทธ์).
(-แหฺม็บ) ว. หายใจแผ่ว ๆ แสดงว่าจวนจะหมดกำลัง, (โบ) เขียนเป็น กระแหมบ ก็มี เช่น กระแหมบกระเหม่นทรวง (อนิรุทธ์).
ก. ร้องไห้รํ่าไร, รํ่าไห้, เช่น เกรงอาตม์กระอืดโอย (สรรพสิทธิ์), จำนองกระอืดโอย ทุกขทรวงละลวงกาม (อนิรุทธ์).
(กฺรัง) น. เนิน เช่น กึกก้องไพรกรัง (อนิรุทธ์), อเนกทั่วไพรกรัง (ดุษฎีสังเวย).
(กฺลอน) น. ลูกตุ้ม, ขลุบ, เช่น แกว่งกลอนยรรยงยุทธ์ (อนิรุทธ์).
ก. กั้น เช่น นา ๑๖๐๐ กินเมืองเจียดเบื้ออหักรองตลุ่มกั้งกแอทาชาต (สามดวง), ดุจจันทราทิตยมณฑล เกือบกั้งเบื้องบน บุรีระเรื่อยฉายา (อนิรุทธ์).
ว. กรรเอา, กลมกล่อม, เช่น สรวญเสียงกันเอาเอา มโนเทพรังรักษ์ (อนิรุทธ์).
ว. โง่, อ่อน, ไม่รู้เท่าทัน, ไม่มีไหวพริบ, เช่น ดุจตักแตนเต้นเห็นไฟ บมิใฝ่หนีไกล กำเลากำเลาะหวังเขญ (อนิรุทธ์).
ว. สีดำ, โบราณเขียนเป็น จกรูน ก็มี เช่น ช้างสารชำนิเมามัน หลากหลากหลายพรรณ แลหน้าจกรูนแสงนิล (อนิรุทธ์).
(จาบ) น. ธนู, ศร, หน้าไม้, เช่น ชักกุทัณฑกำซาบ ด้วยลูกจาปแล่นลิ่ว (อนิรุทธ์).
ก. ระกะ เช่น โกมุทอุบลบานฉะกะ (อนิรุทธ์).
รุมกัน, ช่วยกัน, เช่น โชรมป่ายโชรมปืนโชรมโจม โชรมรุกโชรโชรม รเร่งรโรมโรมรุม (อนิรุทธ์).
(ซะ) ก. ชะ, ล้าง, เช่น ไชยสินธุสมุทรแขวงขอบ เรียบรัตนเรียงรอบ คือฝั่งสมุทรเซราะซระ (อนิรุทธ์).
(เซา) น. ซอกผา, ห้วย, เช่น ป่าดงพงหลวงตระการ เซราะเซราเขาธาร ชรลัดชรล่องดองไพร (อนิรุทธ์).
(เซาะ) ก. เซาะ เช่น ไชยสินธุสมุทรแขวงขอบ เรียบรัตนเรียงรอบ คือฝั่งสมุทรเซราะซระ (อนิรุทธ์).
(โซม) ก. รุมกัน, ช่วยกัน, เช่น จึ่งจะรุมโรมโซรมปรทยด (ม. คำหลวง ชูชก), เลือดไหลคือโชรเซราะธาร ยักษาพลพาน โซรมก็ผาดผลาญผลง (อนิรุทธ์).
ก. รุมรบกัน, เขียนเป็น โซรมรโรม ก็มี เช่น ศรสาตรสาตรา- วุธโซรมรโรมแทง (อนิรุทธ์).
ก. เลื่องลือ, ระบือไป, ดังสนั่น, เช่น เมิลมุขรุกขผกาผลาผลตระการ เซาะธารดำแคงเสียง คครึง (อนิรุทธ์).
ว. งาม, น่ารัก, เช่น นุประดับนางสนมบู เจียรจันทรดำรู หฤทัยเกิดกามา (อนิรุทธ์).
(โดน, โดระนะ) น. ซุ้ม, ประตูซุ้ม, เช่น แขลโขลญทวารจริจรวจ ตรดวจดารโดรณ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), นางจรัลโดรณจรวจจรี เชิงเทินคือคิรี คิรินทรเรืองรอบคอบ (อนิรุทธ์).
(ตฺระหฺลบ) ก. ตลบ, เขียนเป็น ตรหลบ หรือ ตระหลบ ก็มี เช่น สองก้ำกึ่งกันทานทบ แผลงศรตรหลบ ตรเลิดพันลึกนิดินบน (อนิรุทธ์), ไพร่พลเมืองนาวนาว นฤนาท แตรตระหลบก้องหล้า ส่งสยง (ยวนพ่าย), เถิดฤๅจะรื้อรบ ตระหลบวิ่งเข้าชิงแดน ฟันเสียให้นับแสน ให้เศียรขาดลงดาดดิน (พากย์นางลอย).
(ตฺระเหฺลิด) ก. เตลิด เช่น สองก้ำกึ่งกันทานทบ แผลงศรตรหลบ ตรเลิดพันลึกนิดินบน (อนิรุทธ์).
(ตฺระ-) ก. กอด, เกี่ยวพัน, เช่น ดุจมือไตรโลกยตระกอง เศิกเสี้ยนยากปอง จะป่ายจะปีนเปลืองตน (อนิรุทธ์), กระกอง ก็ว่า.
(ตฺระ-) ว. งาม เช่น ป่าดงพงหลวงตระการ เซราะเซราเขาธาร ชรลัดชรล่องดองไพร (อนิรุทธ์), น้ำพุพุ่งซ่า ไหลฉ่าฉาดฉาน เห็นตระการ (สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย เพลงเถา)
ประหลาด, แปลก, เช่น ข้าเห็นร่มชมพู ตรูรัตนพิสาล ตรงตระการกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร), เสียงแตรสังขแลพาทยเภริยนุดนตรี อึงเองบพักตี ตระการ (อนิรุทธ์)
(ตฺระ-) ว. ประเดี๋ยว, บัดใจ, ทันใด, เช่น พลิกไปมาฟื้นตื่นองค์ ในรถมาศผจง ก็ตื่นตรบัดบัดใจ (อนิรุทธ์), กระบัด ก็ใช้.
(ตฺระ-) ก. โลมเล้า, กอด, เช่น เชยแก้มลลาโลม ตระโบมจูบพระเพาพะงา บัดเดี๋ยวจะคืนมา ประสบน้องสำราญรมย์ (อนิรุทธ์), กระโบม ก็ว่า.
ประคับประคอง เช่น อุษากำสรดกล่าว คดีโดยดั่งสมสอง ชายหนึ่งมาลอบลอง ในราตรีตระอรอร (อนิรุทธ์), เกื้อกามตระอร (กฤษณา).
(ตฺริบ) ก. อิ่มเอม, เสพ, เช่น ตฤบรสสุคนธกำจร (อนิรุทธ์).
น. นม เช่น แสงสอดลอดในพระไทรพราย เดือนบ่ายต้องเต้าเจ้าวันทอง (ขุนช้างขุนแผน), บัวตูมติดขั้วบังใบ บังใบท้าวไท ว่าเต้าสุดาดวงมาลย์ (อนิรุทธ์)
(ไตฺร) ว. ไกร, ยิ่ง, เช่น ปางนั้นพระพลเทพก็เล็งศัตรูไตร สว่างไสวไหว พลพีริยโจษจรร (อนิรุทธ์).
ก. ตรวจและหมายไว้ เช่น ไตรตราหาหน้าตรวจตรา หญิงชายชายหา ก็รู้ระบิตริตรอง (อนิรุทธ์)
ว. เร็ว ๆ, พลัน ๆ, เช่น ถั่นถั่นถึงพนไพรพิศาลสุขรมย์ ชื่นชมสำราญสม สำเริง (อนิรุทธ์)
ก. อาการที่ช้างใช้ตีนหลังถีบหรือเตะ เช่น ม้วนงวงแทงธรณีดล งางอนเงยกล คือดั่งจะเสื้องสอยดาว ถีบฉัดผัดผาผาดสราว ไม้ไล่เหิรหาว ก็ฟุ้งทั้งป่าเปนไฟ (อนิรุทธ์).
ก. ล้ม, ทบ, ยอบลง, เช่น ก็กรลับกรลอกแทง ทีเดียวก็ท่าวล้มในกลางแปลง (อนิรุทธ์), ซ้ำ เช่น ก้มเกล้าท่าวทวน ทำนูญบำบวงสรวลเสร (อนิรุทธ์)
ว. เทียม, แนบ, ชิด, เช่น ใครโทจะเท่าเทียม ทำเนียมพักตรเล้าโลม เล้าลูบตระโบมโสม รูปกฤตย์ฤดีดาย (อนิรุทธ์).
น. นํ้า เช่น ปางคราสฉมจันทนคันธา เรียบเทียบทึกสรา สำรวลสำราญริมถนน (อนิรุทธ์).
ก. ทุบ, เคาะ, เช่น อันว่าพระมหาสัตว์ก็ถามเพื่อว่าดึกดื่น ตื่นนอนใครแลมาเทงทรวารพระกุฎีกูดังนี้ (ม. คำหลวง กุมาร), ตระบัดก็ให้เท้ง กระทุ่มเภรียครืนเครง กึกก้องบันลือเลวง (อนิรุทธ์).
ก. ย่อม, ล้วนแล้วไปด้วย, เช่น นี่รอยเบื้องบุญสองรา เทียรทอดรอดมา มาลุมาหล่งโดยใจ (อนิรุทธ์), เขาอันชื่อไกรลาสนั้นเทียรย่อมเงินแล (ไตรภูมิ).
(ทาดตฺรี) น. แผ่นดิน, โลก, เช่น คึกคึกเครงเครงธาษตรี คือสีหสู้สี หสีหนาทสรรทับ (อนิรุทธ์).
(นิดสะกฺรม) ก. เฉย, ปราศจากกิริยา, เช่น ใจเน่งนิษกรม (อนิรุทธ์).
ก. นิ่ง เช่น ท้าวนี้ผู้ใดหนอ มานอนเดียวสมบูรณ์เฉลา เอองคเน่งเนา ณ ในรถมลังเมลือง (อนิรุทธ์), แน่ เช่น ทางนี้ปัดไปเน่ง ครองคลายเคล่งอาศรมบทน้นน (ม. คำหลวง กุมาร).
(-อวด) น. หน้าต่าง เช่น บังอวดบังอิงอร่ามเรือง (อนิรุทธ์).
น. พนัก. (คำฤษฎี), หย่องหน้าต่าง เช่น บังอวดบังอิงอร่ามเรือง (อนิรุทธ์).
ว. บันเทิง, เบิกบาน, รื่นเริง, ยินดี, เช่น อาจให้เลื่องโลกดำเลิง หฤทัยบำเทิง คือทิพยโลกศุลี (อนิรุทธ์).
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ