24 ผลลัพธ์ สำหรับ 

นา ๒

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: -นา ๒-, *นา ๒*
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
คำบทบูรณ์ มักใช้ประกอบท้ายคำบทร้อยกรองให้มีความกระชับหรือสละสลวยขึ้น เช่น กุศลส่งสนองไป ถึงที่ สุขนา (ลอ).
น. ชื่อที่ชาวบ้านเรียกนกที่อาศัยตามทุ่งนาหลายชนิด เช่น คุ่มสี [ Coturnix chinensis (Linn.) ] และนกอื่น ๆ หลายชนิด ในวงศ์ Rallidae เช่น กวัก [ Amaurornis phoenicurus (Pennant) ] อีล้ำ [ Gallinula choropus (Linn.) ] อีลุ้ม [ Gallicrex cinerea (Gmelin) ].
ก. อยู่.
(โมทะนา) ก. พลอยบันเทิง, พลอยยินดี. (ตัดมาจาก อนุโมทนา).
(เวดทะ-) ก. สังเวชสลดใจ เช่น เรามักเวทนาผู้เคราะห์ร้าย เด็กคนนี้น่าเวทนา.
น. ชื่อกาพย์และฉันท์ มี ๒๘ คำ คือ มี ๗ วรรค วรรคละ ๔ คำ เช่น ตัวอย่างกาพย์
(กฤษณา),
ตัวอย่างฉันท์
(หลักภาษาไทย),

ถ้าเป็นกาพย์ขับไม้มี ๓๖ คำ เช่น
(กาพย์ขับไม้ กล่อมพระเศวตรัตนกรีฯ).

(เส-นา) น. วัดนา, ตรวจสอบที่นา, แสนา ก็ว่า.
คำประกอบท้ายคำอื่นที่มีความหมายไปในเชิงบังคับหรืออ้อนวอน เช่น อยู่เถิดหนา.
ลักษณนามเรียกสำเนาหนังสือ เช่น ก๊อบปี้หนึ่ง สำเนา ๒ ก๊อบปี้. ก. ทำสำเนา, คัดลอก, เช่น คุณก๊อบปี้งานในเอกสารนี้ด้วย, ลอก, เลียน, เช่น อย่าก๊อบปี้งานของคนอื่น.
น. ที่นา ๒๕ ตารางวา หรือ ๑๐๐ ตารางเมตร เรียกว่า เฝือหนึ่ง
น. อำนาจหรือสิทธิที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานให้แก่ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินตามศักดิ์ของแต่ละคน เดิมเป็นการถือครองที่ดินคิดเป็นจำนวนไร่ ต่อมาถือเป็นการกำหนดสถานะ สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคนในสังคม เช่น มหาอุปราช มีศักดินา ๑๐๐๐๐๐ เจ้าพระยาจักรี มีศักดินา ๑๐๐๐๐ ภิกษุรู้ธรรม เสมอนา ๖๐๐ ไพร่มีครัว มีศักดินา ๒๐ ยาจก วณิพก ทาส ลูกทาส มีศักดินา ๕ (สามดวง)
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. ชื่อที่ชาวบ้านเรียกนกที่อาศัยตามทุ่งนาหลายชนิด เช่น คุ่มสี [ Coturnix chinensis (Linn.) ] และนกอื่น ๆ หลายชนิด ในวงศ์ Rallidae เช่น กวัก [ Amaurornis phoenicurus (Pennant) ] อีล้ำ [ Gallinula choropus (Linn.) ] อีลุ้ม [ Gallicrex cinerea (Gmelin) ].
คำบทบูรณ์ มักใช้ประกอบท้ายคำบทร้อยกรองให้มีความกระชับหรือสละสลวยขึ้น เช่น กุศลส่งสนองไป ถึงที่ สุขนา (ลอ).
ก. อยู่.
(โมทะนา) ก. พลอยบันเทิง, พลอยยินดี. (ตัดมาจาก อนุโมทนา).
(เวดทะ-) ก. สังเวชสลดใจ เช่น เรามักเวทนาผู้เคราะห์ร้าย เด็กคนนี้น่าเวทนา.
น. ชื่อกาพย์และฉันท์ มี ๒๘ คำ คือ มี ๗ วรรค วรรคละ ๔ คำ เช่น ตัวอย่างกาพย์
(กฤษณา),
ตัวอย่างฉันท์
(หลักภาษาไทย),

ถ้าเป็นกาพย์ขับไม้มี ๓๖ คำ เช่น
(กาพย์ขับไม้ กล่อมพระเศวตรัตนกรีฯ).

(เส-นา) น. วัดนา, ตรวจสอบที่นา, แสนา ก็ว่า.
คำประกอบท้ายคำอื่นที่มีความหมายไปในเชิงบังคับหรืออ้อนวอน เช่น อยู่เถิดหนา.
ลักษณนามเรียกสำเนาหนังสือ เช่น ก๊อบปี้หนึ่ง สำเนา ๒ ก๊อบปี้. ก. ทำสำเนา, คัดลอก, เช่น คุณก๊อบปี้งานในเอกสารนี้ด้วย, ลอก, เลียน, เช่น อย่าก๊อบปี้งานของคนอื่น.
น. ที่นา ๒๕ ตารางวา หรือ ๑๐๐ ตารางเมตร เรียกว่า เฝือหนึ่ง
น. อำนาจหรือสิทธิที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานให้แก่ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินตามศักดิ์ของแต่ละคน เดิมเป็นการถือครองที่ดินคิดเป็นจำนวนไร่ ต่อมาถือเป็นการกำหนดสถานะ สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคนในสังคม เช่น มหาอุปราช มีศักดินา ๑๐๐๐๐๐ เจ้าพระยาจักรี มีศักดินา ๑๐๐๐๐ ภิกษุรู้ธรรม เสมอนา ๖๐๐ ไพร่มีครัว มีศักดินา ๒๐ ยาจก วณิพก ทาส ลูกทาส มีศักดินา ๕ (สามดวง)
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ