premium
44 ผลลัพธ์ สำหรับ 

-ฉกษัตริย์-

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ฉกษัตริย์, *ฉกษัตริย์*
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(ฉ้อกะสัด, ฉอกะสัด) น. กษัตริย์ ๖ พระองค์, ชื่อกัณฑ์ที่ ๑๒ ของมหาชาติ.
พระนารายณ์ เช่น ดุจองค์สมเด็จกมเลศอันลีลาศ ลงจากชั้นสุทธาวาสบวรวิมาน (ม. ร่ายยาว ฉกษัตริย์).
(กัน-) ก. เหิม เช่น กรรเหิมหายหว่นนหว่า (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ว. เสียงขบฟันเกรี้ยว ๆ เช่น คุกคามขบฟันกระเกรี้ยว (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(กะ-) น. ช้าง, ช้างพลาย, เช่น กรินไกรอาสนอัศวาชี (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(กฺริดสะ-) กร่อนมาจาก กฤษฎาภินิหาร เช่น เชิญชมชื่นกฤษฎา (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(กฺริดสะดาน) กร่อนมาจาก กฤษฎาญชลี เช่น ถวายอภิวันทกฤษฎาญกฤษฎาการกราบเกล้า (ม. คำหลวง มัทรี; ฉกษัตริย์).
(กะสีนาสบ) น. ขีณาสพ, พระผู้สิ้นอาสวะ, พระอรหันต์, เขียนเป็น กษิณาศรพ กษิณาศรพย และ กษิณาสยพ ก็มี เช่น อันว่าพระโลกยเชษฐาจารย์ ก็มีพุทธโองการพระคาถา ให้กษิณาศรพทงงหลายฟงง ดังนี้ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), อันว่าพระสาศดาบพิตร จะปกาสิตคาถา แก่กษิณาศรพยทงงหลาย ด่งงนี้ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ก. ไหว เช่น อันว่ามหาปรัตพีผืนผไทแท่น แผ่นผเทศมณฑล สกลกัมปี ดุจครวีไหวหว่นนป่นนไปมาเมื่อน้นน (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(กันพุม) น. กรรพุม, มือที่ประนม, เช่น ถวายกรกัลพุมบันสารโกสุม ศิโรจม์ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์)
น. นางผู้มีผมงาม เช่น โฉมแก้วเกศินีนาฏ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(โกฺรม) ว. ใต้, ตํ่า, ล่าง, ใต้ฟ้า เช่น อนนสองดไนยหน่อเหน้าเหง้ากรุงโกรมกษัตริย (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ว. คลํ้า, มืดมัว, เขียนเป็น ขข่ำ ก็มี เช่น ฟ้าแมลบมล่นนร้อง ท้องฟ้าเขียวขขํ่า ยงงฝนพพร่ำพรอยพรำ อื้ออึงอัมพรระงม ด้วยกำลงงลมพายุพัดน้นน (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(ขะเดา) น. กำเดา, ความร้อน, เช่น ชลเขดาเดือดดาลพอง (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ก. คิดเป็นทุกข์, วิตก, ป่วย, เป็นไข้, เป็นโรค, เช่น ตาชุ่มชื่นชำงือใจ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
น. โรงที่พักชั่วคราวของกลุ่มบุคคล เช่น ให้ยับย้งงต้งงโชมโรมราชีมีคูค่ายเขื่อนขันธ์ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์), เตรียบต้งงโชมโรมราชา ชุมทับพลับพลา แลร้งงยงงฝั่งสระสนาน (สรรพสิทธิ์), ชมรม ก็ว่า.
ต้น, ทาง, เช่น รยกคันธมาทน์ โดยด้ามอาทิสวคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน), อันว่าพระสรรเพชญ์ ผู้เผด็จด้ามตัณหา ลุปรมาภิสมพุทธ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์), บพิตร ข้าอยู่ศุขเสวอยราช โดยด้ามอาทิทศธรรมสนท้าว (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), ดูกรเจ้าอำเภอใด แลราชผู้มีอยู่ในด้ามมารคธรรม ทำโทษน้นน (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
น. มือ เช่น ยอไดพยงภักตรผม ประนมนักขชุลีการ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(ทะไว) น. หมวด ๒, ทั้ง ๒ เช่น แม้อันว่าทวัยราชาคือองค์บิดุราธิราชมาดุรงค์ วิสญฺ หุตฺวา ทรงกรรแสงสาหศรทดรทาย (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ว. ไกล เช่น อนนอาคฤดาโดยสวัสดี แต่ทุรัศทุราไลยลิ่วลี่ ถับถึงที่สถานศาลสถิตน้นน (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(บดทะ-) น. เท้า เช่น กราบบทเรศราชบิดา ท่านแล (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(บดทะวะเรด) น. เท้า เช่น ถวายทศนัขประณตบทวเรศราชชนนี (ม. ร่ายยาว ฉกษัตริย์).
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(ฉ้อกะสัด, ฉอกะสัด) น. กษัตริย์ ๖ พระองค์, ชื่อกัณฑ์ที่ ๑๒ ของมหาชาติ.
พระนารายณ์ เช่น ดุจองค์สมเด็จกมเลศอันลีลาศ ลงจากชั้นสุทธาวาสบวรวิมาน (ม. ร่ายยาว ฉกษัตริย์).
(กัน-) ก. เหิม เช่น กรรเหิมหายหว่นนหว่า (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ว. เสียงขบฟันเกรี้ยว ๆ เช่น คุกคามขบฟันกระเกรี้ยว (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(กะ-) น. ช้าง, ช้างพลาย, เช่น กรินไกรอาสนอัศวาชี (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(กฺริดสะ-) กร่อนมาจาก กฤษฎาภินิหาร เช่น เชิญชมชื่นกฤษฎา (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(กฺริดสะดาน) กร่อนมาจาก กฤษฎาญชลี เช่น ถวายอภิวันทกฤษฎาญกฤษฎาการกราบเกล้า (ม. คำหลวง มัทรี; ฉกษัตริย์).
(กะสีนาสบ) น. ขีณาสพ, พระผู้สิ้นอาสวะ, พระอรหันต์, เขียนเป็น กษิณาศรพ กษิณาศรพย และ กษิณาสยพ ก็มี เช่น อันว่าพระโลกยเชษฐาจารย์ ก็มีพุทธโองการพระคาถา ให้กษิณาศรพทงงหลายฟงง ดังนี้ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), อันว่าพระสาศดาบพิตร จะปกาสิตคาถา แก่กษิณาศรพยทงงหลาย ด่งงนี้ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ก. ไหว เช่น อันว่ามหาปรัตพีผืนผไทแท่น แผ่นผเทศมณฑล สกลกัมปี ดุจครวีไหวหว่นนป่นนไปมาเมื่อน้นน (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(กันพุม) น. กรรพุม, มือที่ประนม, เช่น ถวายกรกัลพุมบันสารโกสุม ศิโรจม์ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์)
น. นางผู้มีผมงาม เช่น โฉมแก้วเกศินีนาฏ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(โกฺรม) ว. ใต้, ตํ่า, ล่าง, ใต้ฟ้า เช่น อนนสองดไนยหน่อเหน้าเหง้ากรุงโกรมกษัตริย (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ว. คลํ้า, มืดมัว, เขียนเป็น ขข่ำ ก็มี เช่น ฟ้าแมลบมล่นนร้อง ท้องฟ้าเขียวขขํ่า ยงงฝนพพร่ำพรอยพรำ อื้ออึงอัมพรระงม ด้วยกำลงงลมพายุพัดน้นน (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(ขะเดา) น. กำเดา, ความร้อน, เช่น ชลเขดาเดือดดาลพอง (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ก. คิดเป็นทุกข์, วิตก, ป่วย, เป็นไข้, เป็นโรค, เช่น ตาชุ่มชื่นชำงือใจ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
น. โรงที่พักชั่วคราวของกลุ่มบุคคล เช่น ให้ยับย้งงต้งงโชมโรมราชีมีคูค่ายเขื่อนขันธ์ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์), เตรียบต้งงโชมโรมราชา ชุมทับพลับพลา แลร้งงยงงฝั่งสระสนาน (สรรพสิทธิ์), ชมรม ก็ว่า.
ต้น, ทาง, เช่น รยกคันธมาทน์ โดยด้ามอาทิสวคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน), อันว่าพระสรรเพชญ์ ผู้เผด็จด้ามตัณหา ลุปรมาภิสมพุทธ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์), บพิตร ข้าอยู่ศุขเสวอยราช โดยด้ามอาทิทศธรรมสนท้าว (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), ดูกรเจ้าอำเภอใด แลราชผู้มีอยู่ในด้ามมารคธรรม ทำโทษน้นน (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
น. มือ เช่น ยอไดพยงภักตรผม ประนมนักขชุลีการ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(ทะไว) น. หมวด ๒, ทั้ง ๒ เช่น แม้อันว่าทวัยราชาคือองค์บิดุราธิราชมาดุรงค์ วิสญฺ หุตฺวา ทรงกรรแสงสาหศรทดรทาย (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ว. ไกล เช่น อนนอาคฤดาโดยสวัสดี แต่ทุรัศทุราไลยลิ่วลี่ ถับถึงที่สถานศาลสถิตน้นน (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(บดทะ-) น. เท้า เช่น กราบบทเรศราชบิดา ท่านแล (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(บดทะวะเรด) น. เท้า เช่น ถวายทศนัขประณตบทวเรศราชชนนี (ม. ร่ายยาว ฉกษัตริย์).
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ