การทำแห้ง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การอบแห้งแบบพ่นกระจาย[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เครื่องอบแห้ง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การทำให้แห้ง[TU Subject Heading]
เครื่องมือและอุปกรณ์ทำให้แห้ง[TU Subject Heading]
การทำแห้งเยือกแข็ง[TU Subject Heading]
การทำแห้ง, Example:การลดปริมาณน้ำลง ไม่จำเป็นต้องแห้งสนิท [สิ่งแวดล้อม]
การทำแห้งโดยการหมุนเหวี่ยง, Example:การทำให้สลัดจ์หรือน้ำเสียจากโรงงานแห้งบาง ส่วนโดยการหมุนเหวี่ยง [สิ่งแวดล้อม]
ลานตาก, Example:ลานที่ใช้ตากสลัดจ์ให้แห้ง [สิ่งแวดล้อม]
การทำให้แห้งในบรรยากาศปกติ[การแพทย์]
การทำตัวอย่างให้แห้ง, การทำแห้ง, ผิวหนังแห้ง[การแพทย์]
กระบวนการทำให้แห้ง[การแพทย์]
การทำให้แห้งณจุดวิกฤต[การแพทย์]
การทำให้แห้งโดยใช้เครื่องอบ[การแพทย์]
การแซ่แข็ง, ฟรีซดรายอิง, การระเหิดแห้ง, การทำให้เย็นจนแข็งก่อนแล้วจึงทำแห้ง[การแพทย์]
การทำให้แห้งณจุดเยือกแข็ง[การแพทย์]
การเตรียมกระดูกปลูกโดยวิธีเย็นและแห้ง[การแพทย์]
วิธีแช่แข็ง-ทำแห้ง[การแพทย์]
การตากลม, การผึ่งลม, Example: Air Drying คือการทำให้แห้งโดยการตากลม ลดอุณหภูมิ ลดความชื้น เพิ่มการถ่ายเทของอากาศ เช่น ใช้พัดลม หรือเครื่องขจัดความชื้น (Dehumidifier) เป็นวิธีที่เหมาะสมสำหรับหนังสือและเอกสารที่ชื้นหรือเปียกน้ำเป็นบางส่วนเท่านั้น เช่น ตามขอบของหนังสือ สามารถทำได้ทั้งกับห้องธรรมดาที่มีประตูหน้าต่างระบายถ่ายเทอากาศได้ดีอย่างสม่ำเสมอ และห้องปรับอากาศ (Air conditioned room) ที่ปิดมิดชิด<br> 1. หนังสือที่เปียกบางส่วน ให้เปิดหนังสือที่เปียกบางส่วนอย่างระมัดระวังและใช้กระดาษซับ หรือกระดาษเช็ดอเนกประสงค์แบบแผ่นใหญ่หนาที่สะอาด หรือกระดาษหนังสือพิมพ์ที่ยังไม่ได้พิมพ์ 2-3 แผ่น สอดแทรกเข้าไประหว่างหน้าหนังสือ โดยแบ่งเป็นหน้ากระดาษหนังสือ 2, 4 หรือ 10 แผ่นต่อกระดาษที่วางสอดแทรก 1 แผ่น ตั้งหนังสือคว่ำลงบนโต๊ะที่ปูพื้นด้วยกระดาษซับหลายๆ แผ่น และวางกระดาษซับที่สะอาดไว้ที่ด้านในปกหน้าและปกหลัง เปิดหนังสือเบาๆ พยายามเปลี่ยนกระดาษ หรือกระดาษซับทั้งที่สอดแทรกหนังสือและที่วางบนโต๊ะบ่อยๆ เพื่อให้แผ่นแทรกหนังสือได้ดูดซึมน้ำ และให้หนังสือแห้งสนิทก่อนที่จะจัดขึ้นชั้นใหม่ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อรา<br> 2. หนังสือที่ชื้น ควรเปิดพัดลมเพดานและพัดลมตั้งโต๊ะช่วยพัดให้แห้งสนิท และปล่อยให้แห้งในที่ที่มีอากาศหมุนเวียนถ่ายเทสะดวก การทำให้แห้งโดยการตากลมนี้ ถ้าเป็นกรณีห้องธรรมดาควรจะเปิดหนังสือวางไว้ในพื้นที่ที่มีอากาศหมุนเวียนถ่ายเทได้ดี ปัญหาเชื้อราจะควบคุมได้ระหว่างการทำให้แห้ง เพราะลมจากพัดลมช่วยให้อากาศภายในห้องหมุนเวียนถ่ายเทระบายออกไปได้ดี แต่ถ้าเป็นห้องปรับอากาศที่ปิดมิดชิด ควรควบคุมความชื้นอยู่ในระดับ 25-35 % และอุณหภูมิ 50-65 องศา F โดยใช้เครื่องขจัดความชื้น(Dehumidifier) ช่วย ขณะเดียวกันก็เปิดพัดลมด้วยเพื่อทำให้แห้งไวขึ้นและจะช่วยทำให้อากาศหมุนเวียนไม่สงบนิ่ง ซึ่งเป็นการควบคุมการเกิดเชื้อราด้วย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การอบแห้งแบบเยือกแข็งภายใต้สภาพสุญญากาศ, Example:<b>การอบแห้งแบบเยือกแข็งภายใต้สภาพสุญญากาศ (Vaccuum Freeze Drying)</b> หมายถึง กระบวนการการอนุรักษ์ทรัพยากรสารสนเทศโดยนำหนังสือที่เปียกโชกไปด้วยน้ำมาแช่แข็งและทำให้แห้ง โดยวางไว้ในห้องที่อยู่ในสภาพสุญญากาศจะทำให้เกิดเกล็ดน้ำแข็งและกลายเป็นไอโดยไม่ต้องละลาย (กระบวนการที่เรียกว่าการระเหิด) เพื่อให้ได้ผลที่ดีที่สุดในการอนุรักษ์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์อนุรักษ์เอกสาร (Northeast Document Conservation Center หรือ NEDCC) แนะนำให้แช่แข็งวัสดุให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้หลังจากวัสดุนั้นเปียกน้ำ วิธีนี้จะเป็นวิธีการที่ช่วยลดอาการบวมและการบิดเบี้ยวของโครงสร้างของหนังสือได้ แต่กระบวนการนี้ไม่แนะนำให้ใช้กับฟิล์มถ่ายรูปหรือกระดาษอัดรูป (Photographic materials) หนังสัตว์ และแผ่นหนังสัตว์ที่ใช้เขียนหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]