กลุ่มอาการทางไขกระดูก, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ)[นิวเคลียร์]
กลุ่มอาการป่วยจากรังสี, กลุ่มอาการที่ปรากฏเมื่อมนุษย์ได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ มี 3 กลุ่มอาการขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ ได้แก่ กลุ่มอาการทางไขกระดูกหรือกลุ่มอาการทางระบบเลือด กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร และกลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง ทุกกลุ่ม จะแสดงอาการเป็น 3 ระยะ คือ <br>-ระยะเริ่มต้น (prodromal stage) มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย</br> <br>-ระยะแอบแฝง (latent stage) เป็นระยะที่ไม่แสดงอาการ</br> <br>-ระยะแสดงอาการที่แท้จริง (manifest illness stage) มีอาการที่แสดงถึงความเสียหายของอวัยวะ</br> <br>(ดู bone marrow syndrome, cerebrovascular syndrome และ gastrointestinal syndrome ประกอบ)</br>[นิวเคลียร์]
ไขกระดูก[TU Subject Heading]
เซลล์ไขกระดูก[TU Subject Heading]
การปลูกถ่ายไขกระดูก[TU Subject Heading]
การสร้างเลือดนอกไขกระดูก[TU Subject Heading]
เซลล์จากไขกระดูกในชั้นสตอร์มาล, Example:กลุ่มของเซลล์ต้นตอหลายชนิดที่พบในไขกระดูก ซึ่งกลุ่มของเซลล์ต้นตอนี้จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์เม็ดเลือด แต่สามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นกระดูก กระดูกอ่อน ไขมัน และเนื้อเยื่อเส้นใย (Fibrous Connective Tissue)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
อะแกรนุโลซัยโตซิส; อะแกรนูโลไซโตซิส, โรค; อแกรนูโลซัยโตซิส; อะแกรนูโรซัยโตลิส; โรคขาดเม็ดเลือดขาว; อะแกรนูโลซัยโตสิส; โลหิตขาดแกรนนูโลไซท์; เลือดที่มีเม็ดเลือดขาวน้อย; เม็ดเลือดขาวต่ำ; ไขกระดูกไม่สร้างเม็ดเลือด[การแพทย์]
เลือดจางอะพลาสติก, โลหิตจางชนิดอพลาสติค, โรคไขกระดูกไม่ทำงาน, โลหิตจางอพลาสติค, โลหิตจางอะพลาสติก, อพลาสติคอนีเมีย, อพลาสติคแอนีเมีย, โรคโลหิตจางที่ไม่มีการเกิดใหม่ของเม็ดเลือดแดง, โลหิตจางเนื่องจากไขกระดูกไม่ทำงาน, โรคโลหิตจาง, ไขกระดูกไม่สร้างเม็ดเลือด, โรคโลหิตจางแบบร้ายแรง[การแพทย์]
โลหิตจางจากไขกระดูกสร้างน้อยหรือไม่สร้าง[การแพทย์]
ไม่มีเซลล์สร้างเม็ดเลือดอยู่เลย, จำนวนเซลล์ลดลง, ไขกระดูกไม่มีเซลล์สร้างเม็ดเลือดเลย[การแพทย์]
เซลล์จากไขกระดูก[การแพทย์]
ศึกษาไขกระดูก, ตัดไขกระดูกออกตรวจ[การแพทย์]
การเจาะไขกระดูก, การตรวจไขกระดูก[การแพทย์]
พริมิติฟเซลล์ของไขกระดูก[การแพทย์]
ไขกระดูก, การทดสอบ[การแพทย์]
การเจาะตรวจไขกระดูก[การแพทย์]
โรคกลับเป็นอีกที่ไขกระดูก[การแพทย์]
การรักษาไขกระดูก, ไขกระดูกเป็นปกติ[การแพทย์]
การเจาะไขกระดูก[การแพทย์]
การปลูกถ่ายไขกระดูก[การแพทย์]
การนำไขกระดูกกลับมาถ่ายใส่ให้คนไข้คนเดิม[การแพทย์]
การปลูกถ่ายไขกระดูก[การแพทย์]
ไขกระดูกแดง, ไขกระดูกสีแดง[การแพทย์]
ไขกระดูกสีเหลือง[การแพทย์]
การตรวจหาอัตราสำรองแกรนูโลซัยต์ในไขกระดูก[การแพทย์]
เอมโบลัสเป็นไขกระดูก[การแพทย์]
เยื่อหุ้มภายในกระดูก, เยื่อบุโพรงไขกระดูก, เยื่อบุในกระดูก, กระดูกผิวใน[การแพทย์]
การสร้างอีโอซินโนฟิลจากไขกระดูกมากขึ้น[การแพทย์]
เพลตเลต, เกล็ดเลือด, ชิ้นส่วนของไซโทพลาซึมของเซลล์ชนิดหนึ่งในไขกระดูกและเข้าสู่เส้นเลือด มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 - 2 ไมโครเมตร ทำหน้าที่ช่วยให้เลือดแข็งตัวเมื่อเกิดบาดแผล[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไขกระดูก, เนื้อเยื่อที่อยู่ในโพรงกระดูก พบมากในโพรงกระดูกท่อนยาว ๆ เช่น กระดูกแขนหรือกระดูกขา ไขกระดูกมี 2 ชนิดคือ ชนิดสีเหลืองและสีแดง ทำหน้าที่สร้างเม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดงให้กับร่างกาย[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การปลูกกระดูกเพื่อแก้ไขกระดูกข้อมือหักต่อไม่ติด[การแพทย์]
ภายในโพรงไขกระดูก[การแพทย์]
แกนโลหะดามในช่องไขกระดูก[การแพทย์]
ลิวคีเมียแบบเฉียบพลันซึ่งเกิดในไขกระดูก[การแพทย์]
โพรงกระดูก, โพรงไขกระดูก, ช่องกระดูก[การแพทย์]
โพรงของไขกระดูก[การแพทย์]
คงอยู่ในไขกระดูก[การแพทย์]
ช่องไขกระดูก, โพรงในกระดูก[การแพทย์]
ไม่มีเซลล์ในไขกระดูก[การแพทย์]
ไขกระดูกชนิดเหลือง[การแพทย์]
ไขกระดูกสีเหลือง[การแพทย์]
ไขกระดูกสีเหลือง[การแพทย์]