เพ็ต, เทคนิคการถ่ายภาพการทำงานของอวัยวะด้วยวิธีกราดวิเคราะห์โพซิตรอนที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีที่มีครึ่งชีวิตสั้นมากซึ่งผลิตจากไซโคลทรอนเข้าไปในกระแสเลือด เช่น การตรวจการทำงานของสมอง จะใช้กลูโคสซึ่งฝังตรึงด้วยสารกัมมันตรังสี ฟลูออร์-18 เพื่อแสดงการทำงานของสมองส่วนต่างๆ เป็นภาพสามมิติที่มีสีสันแตกต่างกัน ข้อดีของเทคนิคนี้ คือ สามารถแสดงผลได้รวดเร็วในเวลาน้อยกว่า 1 นาที นอกจากนี้ยังสามารถใช้วินิจฉัยด้านอื่นๆ ได้ด้วย เช่น โรคหัวใจร่วมหลอดเลือด เนื้องอก และด้านลิ่มเลือดหรือโรคลมต่างๆ[นิวเคลียร์]
โรคหัวใจและหลอดเลือด[TU Subject Heading]
โรคหัวใจ[TU Subject Heading]
โรคหัวใจเกิดจากปอด[TU Subject Heading]
โรคหัวใจรูห์มาติก[TU Subject Heading]
เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะภายในร่างกายที่ต้องการตรวจ โดยการให้สารเภสัชรังสีแก่คนไข้ แล้วทำการตรวจวัดรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากสารเภสัชรังสีนั้น ด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า "กล้องถ่ายแกมมา (gamma camera)" ซึ่งมีทั้งแบบที่หมุนได้ และแบบอยู่กับที่รอบตัวคนไข้ จากนั้นคอมพิวเตอร์จะแปลข้อมูลที่ได้ออกมาให้เห็นเป็นภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี โดยสร้างภาพตัดเนื้อเยื่อของอวัยวะนั้น ทำให้สามารถบอกความผิดปกติของอวัยวะได้ โดยดูการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี แม้มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยก็สามารถตรวจวัดได้ เทคนิคSPECT สามารถตรวจอวัยวะหรือระบบอวัยวะใดๆ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับสารเภสัชรังสีที่ให้ เป็นวิธีที่ใช้ในการบอกตำแหน่งของความผิดปกติ ทั้งทางกายภาพและทางสรีรวิทยาในเนื้อเยื่อที่มีชีวิต ซึ่งเป็นข้อดีทางเทคนิคนี้ จึงนำไปใช้ในการวินิจฉัยโรคหัวใจ โรคลมบ้าหมู และโรคมะเร็ง ข้อได้เปรียบของเทคนิคนี้ ต่อ PET คือ ไม่ต้องใช้เครื่องไซโคลตรอนในการผลิตไอโซโทปรังสี[พลังงาน]
อาการปวดเค้นอก; แอนจินาเพ็คตอริส; แอนไจนา เพกตอริส, โรค; แอนไจนา เพกตอริส; โรคหัวใจขาดเลือด; เจ็บหน้าอก; โรคเจ็บหน้าอก; การเจ็บหน้าอก; แองไจนาเพคทอริส; โรคหลอดเลือดหัวใจหดตัว; กล้ามเนื้อหัวใจมีเลือดมาเลี้ยงไม่พอ; แองไจน่าเพคตอริส; กลุ่มอาการปวดเค้นอก; กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด[การแพทย์]
โรคหัวใจชนิดมีอาการเขียว[การแพทย์]
หัวใจเต้นผิดจังหวะ, การเต้นผิดจังหวะของหัวใจ, การเต้นผิดปกติของหัวใจ, หัวใจเต้นผิดปกติ, หัวใจเสียจังหวะ, โรคหัวใจเต้นผิดปกติ, การเต้นของหัวใจเสียจังหวะ, การเต้นผิดปกติของหัวใจ, หัวใจเสียจังหวะ, คาร์ดิแอคอะริธเมีย, หัวใจเต้นผิดปกติ[การแพทย์]
โรคหัวใจชนิดหนึ่ง[การแพทย์]
โรคหัวใจคาร์ซินอยด์[การแพทย์]
โรคหัวใจเหน็บชา[การแพทย์]
หน่วยอภิบาลโรคหัวใจ[การแพทย์]
คาร์ดิแอกไกลโคไซด์, กลัยโคไซด์ที่ใช้รักษาโรคหัวใจ, สารพวกที่มีผลต่อหัวใจ, กลัยโคไซด์ที่มีผลต่อหัวใจ[การแพทย์]
หทัยวิทยา, วิทยาที่ว่าด้วยเรื่องหัวใจ, วิทยาโรคหัวใจ[การแพทย์]
โรคหัวใจชนิดไม่ทราบสาเหตุ[การแพทย์]
ยาสำหรับโรคหัวใจและหลอดเลือด[การแพทย์]
เหตุปัจจัยเสี่ยงรวมต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด[การแพทย์]
โรคหัวใจอักเสบรูมาติก, โรคหัวใจอักเสบรูมาติค[การแพทย์]
โรคหัวใจเพราะปอด[การแพทย์]
โรคหัวใจเพราะปอดชนิดเรื้อรัง[การแพทย์]
หอผู้ป่วยหนักโรคหัวใจ, หน่วยดูแลโรคหัวใจ, หออภิบาล, หน่วยดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจโคโรนารี่[การแพทย์]
โรคเส้นเลือดเลี้ยงหัวใจ, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคหัวใจโคโรนารี่[การแพทย์]
ประชากรที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจโคโรนารี่[การแพทย์]
อันตรายของโรคหัวใจโคโรนารี่[การแพทย์]
หัวใจล่างขวาพองออกโรคหัวใจเพราะปอดชนิดเฉียบพลัน[การแพทย์]
โรคหัวใจแบบเขียวคล้ำ[การแพทย์]
ดิจิตาลิส, ยา, ดิจิตาลิส, ยาดิจิตาลิส, ดิจิทาลิส, ยาหัวใจ, ยารักษาโรคหัวใจ, ดิจิตาลิส, ดิจิตัลลิส, ดิจิทาลิส, ยาจำพวกดิจิทลิส[การแพทย์]
ปอดบวมน้ำจากโรคหัวใจ[การแพทย์]
โรคหัวใจขาดเลือด[การแพทย์]
โรคหัวใจขาดเลือด[การแพทย์]
หน่วยผู้ป่วยหนักโรคหัวใจและหลอดเลือด[การแพทย์]
โรคหัวใจพิการที่สลับซับซ้อน[การแพทย์]
ได้ยินเสียงฟู่โดยไม่มีโรคหัวใจ[การแพทย์]
กล้ามเนื้อหัวใจตาย, การอุดตาย, โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย, การตายของกล้ามเนื้อหัวใจ, การอุดตายของกล้ามเนื้อหัวใจกล้ามเนื้อหัวใจตายเพราะขาดเลือดกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือด, โรคหัวใจวาย, กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด, โรคหัวใจ, โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือด, กล้ามเนื้อหัวใจตาย, กล้ามเนื้อหัวใจอุดตาย, การตายของกล้ามเนื้อหัวใจ, การอุดตายของกล้ามเนื้อหัวใจ, โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายอย่างปัจจุบัน, กล้ามเนื้อหัวใจตายบางส่วน[การแพทย์]
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดมาหล่อเลี้ยง, โรคหัวใจขาดเลือด[การแพทย์]