แมกนีเซียม[TU Subject Heading]
แมกนีเซียม อัลลอยด์[TU Subject Heading]
แมกนีเซียม ไฮดรอกไซด์[TU Subject Heading]
แมกนีเซียมซัลเฟต[TU Subject Heading]
ปริมาณของแข็งที่ไม่ใช่ยาง หมายถึง ปริมาณของแข็งอื่นๆ ที่ไม่ใช่เนื้อยางที่มีอยู่ในน้ำยาง เช่น แมกนีเซียม ทองแดง คาร์โบไฮเดรต ไขมัน เป็นต้น สามารถหาได้จากการนำเอาค่า DRC ไปหักออกจากค่า TSC ก็จะได้ค่า NRC ถ้าน้ำยางข้นชุดใดมีค่า NRC สูง ก็บ่งชี้ว่า น้ำยางชุดนั้นมีสารที่ไม่ใช่เนื้อยางมาก ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อความเสถียรของน้ำยาง[เทคโนโลยียาง]
ปริมาณสลัดจ์หรือปริมาณตม หมายถึง สิ่งเจือปนที่ไม่ใช่ยางซึ่งจะตกตะกอนลงก้นภาชนะเมื่อมีการปั่นหรือกวนน้ำยาง สิ่งเจือปนเหล่านี้ประกอบด้วย ฝุ่นละออง ดิน ทราย เปลือกไม้ และแมกนีเซียมแอมโมเนียมฟอสเฟต ถ้าปริมาณสลัดจ์มีค่าสูง อาจเกิดการสะสมของปริมาณตมอย่างรวดเร็วระหว่างกระบวนการผลิต ทำให้น้ำยางเสียสภาพและไม่สามารถใช้งานต่อไปได้[เทคโนโลยียาง]
แมกนีเซียมในโลหิต[การแพทย์]
โบรโมแมกนีเซียมอัลกอฮอเลท[การแพทย์]
คาร์บอนแมกนีเซียมบอนด์[การแพทย์]
เกลือแมกนีเซียมซัลเฟต[การแพทย์]
น้ำกระด้างถาวร, น้ำกระด้างที่มีเกลือซัลเฟตหรือคลอไรด์ของแคลเซียม หรือแมกนีเซียมละลายอยู่ น้ำกระด้างชนิดนี้ต้มแล้วไม่หายกระด้าง เช่น น้ำทะเล ต้องใช้วิธีกลั่นหรือให้ไหลผ่านสารซีโอไลต์ (zeolite) หรือใส่สารโซเดียมคาร์บอเนตลงไป เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท, โลหะหมู่ II ในตารางธาตุ ได้แก่ เบริเลียม แมกนีเซียม แคลเซียม สทรอนเซียม แบเรียม และเรเดียม[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ใยหิน, แร่ชนิดหนึ่งมีลักษณะเป็นเส้นใย มีอยู่ในธรรมชาติ ประกอบด้วยสารซิลิเกตหลายชนิดปนกัน ที่สำคัญคือ แคลเซียมและแมกนีเซียมซิลิเกต ใช้เป็นฉนวนความร้อนและไฟฟ้า[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
น้ำกระด้าง, น้ำที่ไม่ให้ฟองกับสบู่เนื่องจากมีเกลือไฮโดรเจนคาร์บอเนตซัลเฟตหรือคลอไรด์ของแคลเซียมหรือแมกนีเซียมละลายอยู่ น้ำกระด้างมี 2 ชนิด คือ น้ำกระด้างชั่วคราว และน้ำกระด้างถาวร[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ทัลก์, แร่ชนิดหนึ่ง เป็นผลึกของสารประกอบแมกนีเซียมซิลิเกต สูตรเคมีคือ Mg3Si4O10(OH)2 มีสีเขียว สีเทา สีขาว หรือสีเงิน ความแข็ง 1 ใช้ทำแป้งผัดหน้าแป้งโรยตัว และใช้เป็นส่วนประกอบในอุตสาหกรรมกระเบื้องเคลือบ อุตสาหกรรมกระดาษ เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
น้ำกระด้างชั่วคราว, น้ำที่มีเกลือโฮโดรเจนคาร์บอเนตของแคลเซียมหรือแมกนีเซียมละลายอยู่ ทำให้หายกระด้างได้โดยการต้ม[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แมกเนเลียม, โลหะผสมระหว่างแมกนีเซียมกับอะลูมิเนียม โดยมีแมกนีเซียมผสมอยู่ประมาณ 5 - 30% มีสมบัติแข็งและเบา ใช้ทำส่วนประกอบของเครื่องบิน เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แม็กนีเซียม, แมกนีเซียม, แมกนีเซี่ยม, เกลือแมกเนเซียม[การแพทย์]
ดุลย์แมกนีเซียม[การแพทย์]
แมกนีเซียมคาร์บอเนตชนิดเบา[การแพทย์]
แมกนีเซียม; ภาวะพร่อง[การแพทย์]
แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์, แมกนีเซียม ฮัยดรอกไซด์[การแพทย์]
แมกนีเซียมโอลีเอต[การแพทย์]
แม็กนีเซียมอ็อกไซด์; แมกนีเซียมออกไซด์, สาร; แมกนีเซี่ยมออกไซด์[การแพทย์]
แมกนีเซียมโปรโตพอร์ฟัยริน[การแพทย์]
แมกนีเซียม ซัลเฟต, สาร; แมกนีเซียมซัลเฟต; ดีเกลือ; เกลือแมกนีเซียมซัลเฟต; ยาระบายพวกดีเกลือ; แมกนีเซียมซัลเฟต[การแพทย์]
แมกนีเซียมไทรซิลิเกต, แมกนีเซียมไตรซิลิเกท[การแพทย์]
อาหารขาดแมกนีเซียม[การแพทย์]