152 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*เลขที่*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: เลขที่, -เลขที่-
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม.
ก. ขอสิ่งของ เงิน เป็นต้น มาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน, นำของของผู้อื่นมาใช้เป็นของของตน เช่น ขอยืมคำในภาษาบาลีมาใช้ ขอยืมวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ ขอยืมความคิด, (คณิต) ในการลบเลข ถ้าเลขตัวตั้งในหลักใดน้อยกว่าเลขที่จะนำมาลบ ให้นำเลขจากหลักสูงถัดไปมาเพิ่มเลขตัวตั้งเพื่อให้มากพอที่จะลบได้ เช่น ๔๓ - ๕ ในที่นี้ ๕ ลบจาก ๓ ไม่ได้ ๓ ต้องขอยืม ๔ ซึ่งเป็นหลักสิบมา ๑ รวมเป็น ๑๓ แล้วลบออกเสีย ๕ เหลือ ๘ ๔ เมื่อถูกขอยืมไป ๑ ก็เหลือ ๓ ผลลัพธ์ ๓๘, ยืม ก็ว่า.
จำนวนหรือตัวเลขที่ระบุปริมาณหรือขนาดของตัวแปร
น. จำนวนเลขที่มีค่ามากกว่าศูนย์.
น. จำนวนเลขที่มีค่าต่ำกว่าศูนย์.
น. จำนวนเลขที่ใช้ในการคำนวณหาคำตอบตามวิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น ตัวบวก ตัวลบ ตัวคูณ ตัวหาร, ลักษณนามใช้เรียกตัวเลข เช่น เลขท้าย ๒ ตัว.
น. จำนวนเลขที่ตั้งไว้ก่อนสำหรับบวกลบคูณหาร.
น. จำนวนจริงในรูปเลขฐานสิบ โดยกำหนดจุดจุดหนึ่งให้ตัวเลขที่อยู่ข้างหน้าจุดแสดงจำนวนเต็ม ตัวเลขที่อยู่ข้างหลังจุดแสดงจำนวนที่เป็นส่วนของสิบ ร้อย พัน ไปเรื่อย ๆ เช่น ๘๕๖.๑๒๘ ล้านบาท หมายความว่า แปดร้อยห้าสิบหกล้านหนึ่งแสนสองหมื่นแปดพันบาท.
น. ระบบโทรคมนาคมที่ใช้เครื่องรับส่งสัญญาณโทรเลข ประกอบด้วยแป้นพิมพ์และแคร่พิมพ์ ลักษณะคล้ายเครื่องพิมพ์ดีด สามารถรับส่งสัญญาณโทรเลขเพื่อพิมพ์เป็นตัวอักษรบนกระดาษพิมพ์ และส่งตัวอักษรที่พิมพ์เป็นสัญญาณโทรเลขผ่านวงจรโทรเลขที่ต่ออยู่กับเครื่องโทรพิมพ์นั้นได้.
ในทางคณิตศาสตร์เรียกจำนวนเลขที่มีค่ามากกว่าศูนย์ ว่า จำนวนบวก.
ก. นำเครื่องหมายแทนพระเคราะห์มีอาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ศุกร์ เป็นต้น บรรจุลงในดวงตามช่องจักรราศีทั้ง ๑๒ ที่โคจรมาสถิตตามวัน เดือน ปี และเวลาตกฟากของเจ้าของชะตานั้น ดูว่าอาทิตย์ตกอยู่ในราศีใด แล้วเอาองศาอาทิตย์ของวันเกิดเจ้าของชะตามาคำนวณว่า เมื่อเวลา ๖.๐๐ นาฬิกา อาทิตย์อยู่ในราศีดังกล่าวมาแล้วนานเท่าใด เรียกว่า อดีตอุทัย และเวลาเหลืออีกนานเท่าใดจึงจะพ้นไปจากราศีนั้น เรียกว่า อนาคตอุทัย แล้วเอาเวลาตกฟากตั้งลบด้วย ๖.๐๐ นาฬิกา และอนาคตอุทัย ต่อไปเอาอันโตนาทีของราศีถัด ๆ ไปลบทีละราศี ถ้าเวลาหรือเลขที่เหลือไม่พอให้อันโตนาทีของราศีใดลบได้ ลัคนาก็อยู่ที่ราศีนั้น การผูกดวงนี้เพื่อทำนายโชคชะตาเป็นต้น.
ในการลบเลข ถ้าเลขตัวตั้งในหลักใดน้อยกว่าเลขที่จะนำมาลบ ให้นำเลขจากหลักสูงถัดไปมาเพิ่มเลขตัวตั้งเพื่อให้มากพอที่จะลบได้ เช่น ๔๓ - ๕ ในที่นี้ ๕ ลบจาก ๓ ไม่ได้ ๓ ต้องยืม ๔ ซึ่งเป็นหลักสิบมา ๑ รวมเป็น ๑๓ แล้วลบออกเสีย ๕ เหลือ ๘ ๔ เมื่อถูกยืมไป ๑ ก็เหลือ ๓ ผลลัพธ์ ๓๘, ขอยืม ก็ว่า.
น. ตัวเลขที่ประกอบในแผ่นยันต์.
น. จำนวนนับที่บอกรหัสหรือตำแหน่งที่ของสิ่งที่จัดเรียงกันอย่างมีระบบ เช่น บ้านเลขที่ ๑๕๐ รถประจำทางสาย ๖๒.
น. จำนวนตัวเลขที่กำหนดไว้.
ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น

ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ (๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 - b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า.
น. จำนวนเลขที่บ่งแสดงนํ้าหนักของสารที่ทำปฏิกิริยาโดยทางตรงหรือทางอ้อมได้พอดีกับ ๑.๐๐๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุไฮโดรเจน หรือกับ ๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุออกซิเจน.
น. วิธีการขายของด้วยการทำสลาก กำหนดตัวเลข มักใช้เลขท้าย ๒ ตัวของลอตเตอรี่รางวัลที่ ๑ เป็นเลขที่ได้รับของ.
ว. หนึ่ง (ใช้เรียกจำนวนเลขที่มี ๑ อยู่ท้าย เช่น ๑๑ ว่า สิบเอ็ด ๑๐๑ ว่า ร้อยเอ็ดหรือหนึ่งร้อยเอ็ด).
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ตัวนับเลขที่อยู่โปรแกรม[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่สัมพัทธ์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่จริง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่กลับ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การกำหนดเลขที่อยู่โดยเรจิสเตอร์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่ระดับที่สอง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การกำหนดเลขที่อยู่เชิงสัญลักษณ์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่จำเพาะ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่ต้นทาง[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
-เลขที่อยู่หนึ่งบวกหนึ่ง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คำสั่งเลขที่อยู่หนึ่งบวกหนึ่ง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
-เลขที่อยู่เดียว[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คำสั่งเลขที่อยู่เดียว[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่สัมบูรณ์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การกำหนดเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การกำหนดเลขที่อยู่[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เออาร์พี (เกณฑ์วิธีการจำแนกเลขที่อยู่)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การคำนวณเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
รูปแบบเลขที่อยู่ [ ในคำสั่ง ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การส่งเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การดัดแปรเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ส่วนเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เรจิสเตอร์เลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เกณฑ์วิธีการจำแนกเลขที่อยู่ (เออาร์พี)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
๑. วงเก็บเลขที่อยู่๒. ร่องเก็บเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่ฐาน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่ฐาน[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เลขที่อยู่สัมบูรณ์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
หลายเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
รหัสหลายเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คำสั่งหลายเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
หลายเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
รหัสหลายเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คำสั่งหลายเลขที่อยู่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การกำหนดเลขที่อยู่แบบประวิง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่โดยตรง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การกำหนดเลขที่อยู่โดยตรง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่ปลายทาง[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เลขที่อยู่ยังผล, เลขที่อยู่ประสิทธิผล[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การกำหนดเลขที่อยู่โดยอ้อม[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่อินเทอร์เน็ต[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่อินเทอร์เน็ต[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เลขที่อยู่คำสั่งเครื่อง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่ไอพี[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่เชิงดรรชนี [ มีความหมายเหมือนกับ variable address ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การกำหนดเลขที่อยู่โดยดรรชนี[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่ระดับศูนย์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขที่อยู่เสมือน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เลขที่อยู่Example:เลขที่อยู่ประจำส่วนต่างๆ ตามแต่จะกำหนด เช่น เลขที่อยู่หน่วยความจำหมายถึงเลขที่อยู่ของที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจำซึ่งโดยปกติก็คือ เลขที่อยู่ประจำแต่ละไบต์ ทั้งนี้เพราะไบต์เป็นหน่วยความจำที่เล็กที่สุดที่สามารถอ้างถึงหรือระบุได้[คอมพิวเตอร์]
เลขที่คำขอรับสิทธิบัตร[ทรัพย์สินทางปัญญา]
หมายเลขที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร[ทรัพย์สินทางปัญญา]
เลขที่คำขอรับสิทธิบัตรที่ถูกอ้างการมีสิทธิก่อน[ทรัพย์สินทางปัญญา]
เลขที่สิทธิบัตร[ทรัพย์สินทางปัญญา]
เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์, เครื่องคิดเลขที่มีสูตรคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สถิติ สมการลีเนียร์หลายตัวแปรได้ เป็นต้น[Assistive Technology]
บ้านเลขที่บนอินเตอร์เน็ต[TU Subject Heading]
ส่วนปลอดภัย , ตัวเลขที่ใช้หารหน่วยแรงประลัยลงให้ถึงขนาดที่ จะใช้ได้ปลอดภัย สำหรับวัสดุที่มีกำลังครากหรือหน่วยแรงพิสูจน์ให้ใช้ค่ากำลังครากหรือหน่วย แรงพิสูจน์นั้นแทนหน่วยแรงประลัย[สิ่งแวดล้อม]
ค่าออกเทนเป็นตัวเลขที่บอกถึงคุณภาพการต้านทานการน็อค หรือความสามารถของน้ำมันเบนซินที่จะเผาไหม้โดยปราศจากการน็อคในเครื่องยนต์ ทดสอบได้หลายวิธี อาทิ <br>Research Octane Number (RON) เป็นการวัดโดยใช้เครื่องยนต์มาตรฐาน CFR F-1 วัดที่รอบเครื่องยนต์ต่ำ 600 รอบต่อนาที และอุณหภูมิไอน้ำมันผสมต่ำประมาณ 125 องศาฟาเรนไฮต์ <br>Motor Octane Number (MON) เป็นการวัดโดยใช้เครื่องยนต์มาตรฐาน CFR F-2 วัดที่รอบเครื่องยนต์รอบสูง 900 รอบต่อนาทีและอุณหภูมิไอน้ำมันผสม 300 องศาฟาเรนไฮต์ <br>Road Octane Number ทำการวัดโดยใช้รถยนต์จริงๆ วิ่งบนถนนซึ่งความเร็วและภาระเปลี่ยแนปลงไปต่างๆ กัน เพือ่ให้ได้ใกล้เคียงกับควาเมป็นจริงมากที่สุด วิธีนี้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก[ปิโตรเลี่ยม]
ตัวเลขที่ต่อเนื่องกันข้อมูลมีลักษณะต่อเนื่องกัน[การแพทย์]
ข้อมูลชนิดนับ, ตัวเลขที่ได้มาจากการนับ[การแพทย์]
ข้อมูลตัวเลขชนิดต่อเนื่อง, ตัวเลขที่ได้มาจากการวัด[การแพทย์]
ตัวเลขที่ได้มาจากการนับ, ข้อมูลตัวเลขชนิดนับ[การแพทย์]
แยกได้ชัดเจน, กระจัดกระจาย, ไม่ต่อเนื่อง, ไม่เกาะติดกัน, ตัวเลขที่ได้มาจากการนับ[การแพทย์]
ตัวเรื่อง, ข้อความหรือตัวเลขที่แสดงไว้ในตารางสถิติ  (ดู statistical table ประกอบ)[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เลขชี้กำลัง, ตัวเลขที่เขียนไว้ด้านบนขวาของจำนวนใด ๆ และใช้แสดงกำลังของจำนวนนั้น เช่น จำนวน 53 มี 3 เป็นเลขชี้กำลัง และ 5 เป็นฐาน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
หมายเลขตาราง, ตัวเลขที่แสดงลำดับที่ของตารางสถิติ  (ดู statistical table  ประกอบ)[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
คาบ, กลุ่มธาตุต่าง ๆ ที่อยู่ในแถวเดียวกันตามแนวนอนในตารางธาตุ  ธาตุใดอยู่ในคาบที่เท่าใดก็จะมีจำนวนระดับพลังงานในอะตอม เท่ากับเลขที่ของคาบนั้น เช่น K, Ca และ Br อยู่ในคาบที่ 4 แสดงว่าแต่ละธาตุมีจำนวนระดับพลังงานในอะตอม 4 ระดับ ได้แก่ n = 1, n = 2, n = 3  และ n[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เลขนัยสำคัญ, จำนวนตัวเลขที่เป็นผลจากการวัดซึ่งมีความหมายและความเหมาะสมตามความละเอียดของเครื่องมือที่ใช้วัด เช่น ใช้ไม้บรรทัดวัดความยาวดินสอแท่งหนึ่งได้ 2.56 เซนติเมตร  แต่ถ้าใช้ไมโครมิเตอร์วัดจะได้ 2.5632 เซนติเมตร แสดงว่าการใช้ไม้บรรทัดวัดจะได้เลขนัยสำคัญ 3 ตัว และใช[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เลขที่อยู่ไอพีหรือไอพีแอดเดรส, หมายเลขอ้างอิงในการติดต่อสื่อสาร ประกอบด้วยเลข 4 ชุด ซึ่งแยกกันด้วยเครื่องหมายจุด และจะต้องไม่ซ้ำกัน เช่น 202.29.77.131[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ระบบชื่อโดเมน, ระบบแปลงเลขที่อยู่ไอพีให้เป็นชื่อโดเมนที่อยู่ในรูปของชื่อย่อภาษาอังกฤษหลายส่วนคั่นด้วยเครื่องหมายจุด[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[bān lēkthī] (n, exp) EN: address  FR: adresse [ f ]
[bān lēkthī ...] (n, exp) FR: maison numéro ... [ f ] ; habitation n° ... [ f ]
[lēkthī] (n, exp) EN: number  FR: numéro [ m ]
[lēkthī banchī] (n, exp) EN: account number  FR: numéro de compte [ m ]
[lēk thīnang] (n, exp) EN: seat number  FR: numéro de siège [ m ]
[lēkthī nangseūdoēnthāng] (n, exp) EN: passeport number  FR: numéro de passeport [ m ]
[lēk thīnøn] (n, exp) EN: berth number  FR: numéro de couchette [ m ]
[trūat long trā lēk thī ...] (n, exp) EN: visa number ...  FR: numéro de visa ...
[yū bān lēkthī] (v, exp) EN: address  FR: adresse [ f ]
Longdo Approved EN-TH
(n)อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท SONY และใช้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆของ SONY มีขนาดเล็กประมาณเท่าแผ่นหมากฝรั่ง magic gate memory stick คือ memory stick ที่มีหมายเลขรหัสประจำในแต่ละแผ่น เพื่อให้สามารถควบคุมการทำสำเนาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ (เช่น ข้อมูลเพลง หรือภาพ) ได้ คือ ข้อมูลที่บันทึกจะนำมาใช้ได้เมื่ออ่านจากแผ่นที่มีหมายเลขที่กำหนดเท่านั้น และจะใช้ไม่ได้เมื่อทำสำเนาข้อมูลนั้นไปยังแผ่นหรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่นSee Also:flash memory
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)เลขที่ถูกคูณ
(adj)เกี่ยวกับเลขที่แสดงลำดับ
(n)จำนวนเลขที่กลับกัน (ทางคณิตศาสตร์)Syn.complement
(n)ตัวอักษรหรือตัวเลขที่เขียนอยู่ต่ำกว่าตัวอื่น
(n)ตัวเลขที่อยู่ภายใต้ตัวเลขอื่น (คณิตศาสตร์)See Also:ตัวเลขย่อยSyn.subclass
(n)ตัวเลขที่มีรากไม่รู้จบSee Also:ตัวเลขที่หารากไม่ลงตัวSyn.irrational root, irrational number
(adj)เกี่ยวกับรากไม่รู้จบSee Also:เกี่ยวกับตัวเลขที่หารากไม่ลงตัวSyn.irrational, radical
(n)เลขที่ยี่สิบเอ็ด
Hope Dictionary
(แอนทีลอก' กะริธึม) n. ตัวเลขที่มีเลขที่กำหนดให้เป็น logarithm. -antilogarithmic adj.
(ออโทโค'เดอะ) n. เครื่องคิดเลขหรือเรียงเลขที่อัตโนมัติ (automatic coder)
หมายถึง ตำแหน่งเริ่มต้นที่ใช้เพื่อการคำนวณหาเลขที่อยู่ (address) ในแหล่งเก็บข้อมูล จากเลขที่อยู่สัมพัทธ์ (relative address)
ตัวเลขที่เกี่ยวกับวัตถุหรือสิ่งของเฉพาะอย่าง
(ดีดีอี) ย่อมาจาก dynamic data exchange คำนี้ใช้ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์และโอเอส/ทู หมายถึงการทำให้สองโปรแกรมบนวินโดว์ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เป็นต้นว่า การนำตัวเลขที่อยู่ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) มาใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นใหม่ นอกจากนั้น หากมีการแก้ไขตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำ ก็จะได้รับการแก้ไขไปด้วยโดยอัตโนมัติ
(ดอร์'เพลท) n. ป้ายเลขที่บ้าน
การสับเปลี่ยนข้อมูลแบบพลวัตใช้ตัวย่อว่า DDE (อ่านว่า ดีดีอี) คำนี้ใช้ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์และโอเอส/ทู หมายถึงการทำให้สองโปรแกรมบนวินโดว์ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เป็นต้นว่า การนำตัวเลขที่อยู่ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) มาใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นใหม่ นอกจากนั้น หากมีการแก้ไขตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำ ก็จะได้รับการแก้ไขไปด้วยโดยอัตโนมัติ
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า e-mail หมายถึงการสื่อสารหรือการส่งข้อความ โน้ต หรือบันทึกออกจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ผ่านไปเข้าเครื่องปลายทาง (terminal) หรือเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งโดยส่งผ่านทางระบบเครือข่าย (network) ผู้ส่งจะต้องมีเลขที่อยู่ (e-mail address) ของผู้รับ และผู้รับก็สามารถเปิดคอมพิวเตอร์เรียกข่าวสารนั้นออกมาดูเมื่อใดก็ได้ โดยปกติ จะไม่มีการพิมพ์ข้อความหรือข่าวสารนั้นลงแผ่นกระดาษ นับว่าเป็นการประหยัดกระดาษไปได้ส่วนหนึ่ง โดยทั่วไป ถือกันว่าเป็นงานส่วนหนึ่งของสำนักงานอัตโนมัติ (office automation) ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอันมาก
เลขที่อยู่แรกเข้าจุดแรกเข้าหมายถึง จุดเริ่มต้นของคำสั่งแรกในชุดคำสั่ง (program) หรือชุดคำสั่งประจำ (routine) การปฏิบัติงานจะเริ่มต้น ณ จุดนี้
จำนวนเต็มหมายถึง เลขที่มีจุดทศนิยม (สมมติ) ตายตัว หรือที่เรียกว่า เลขจำนวนเต็ม (integer) ตรงข้ามกับ floating point number ซึ่งหมายถึงเลขทศนิยมที่จะกำหนดให้มีเลขตามหลังจุด ทศนิยมกี่หลักก็ได้ตามที่ต้องการ
เลขทศนิยมหมายถึง เลขที่มีจุดทศนิยม จะมีเลขตามหลังจุดทศนิยมนี้กี่ หลักก็ได้ ตรงข้ามกับ fixed point number ซึ่งหมายถึง เลขจำนวนเต็ม (integer)
ขนาดมือถือเป็นคำบอกขนาดของไมโครคอมพิวเตอร์ที่เล็กกว่าขนาดวางตัก (laptop) และขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) มีลักษณะคล้ายเครื่องคิดเลขที่มีหน่วยความจำ มีสูตรคณิตศาสตร์ต่าง ๆ เก็บไว้
ฐาน 16ระบบเลขฐาน 16 หมายถึงระบบเลขที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น เรานิยมใช้เลขฐาน 16 ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ จะรับรู้ได้ เลขฐานสิบหกก็คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
หมึกแม่เหล็กเป็นหมึกพิเศษชนิดหนึ่ง มีสารแม่เหล็กเป็นส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านตัวอักษรที่พิมพ์ด้วยหมึกชนิดนี้ได้ และจะแยกได้ว่ามีข้อความใดบ้าง โดยใช้คุณสมบัติของแม่เหล็ก หมึกแม่เหล็กชนิดนี้ มักใช้พิมพ์ในกิจการธนาคาร เช่น เลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค หรือแบบฟอร์มเบิกเงิน เป็นต้น
เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็กใช้ตัวย่อว่า MICR (อ่านว่า เอ็มไอซีอาร์) หมายถึง เครื่องอ่านตัวอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก การอ่านหมึกแม่เหล็กที่ว่านี้ ใช้วิธีอ่านด้วยแสง ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้น ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น
(แมนทิส'ซะ) n. เลขที่อยู่ทางขวาของจุดของ logarithm
(มี'เดียน) adj. แนวหรือเส้นกึ่งกลาง, อยู่ตรงกลาง, ระหว่างกลาง. n. ค่าเฉลี่ยของเลขกลางจำนวนของกลุ่มเลขที่เรียงลำดับ ความมากน้อย, แนวแบ่ง, เส้นแบ่ง.
(เอ็มไอซีอาร์) ย่อมาจาก magnetic ink character reader แปลว่าเครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก การอ่านนี้จะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ หมึกที่ใช้ต้องมีลักษณะพิเศษ เช่นเป็นแม่เหล็ก ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น
(โมสทฺ) adj. (คุณศัพท์เปรียบเทียบของmuchหรือmany) มากที่สุด, ส่วนใหญ่. n. จำนวนที่มากที่สุด, ปริมาณที่มากที่สุด, เลขที่สูงสุด, คนส่วนใหญ่, -Phr. (at the most อย่างมากที่สุด) adv. มากที่สุด, เกือบจะ
คิดเลขเร็วหมายถึง การคำนวณที่ซับซ้อน หรือที่มีตัวเลขที่มีค่ามาก ๆ (เช่น ตัวเลขทางธุรกิจ หรืองบประมาณ) ได้อย่างรวดเร็ว
ระบบจำนวนหมายถึงจำนวนตัวเลขในแต่ละระบบ เช่น ระบบฐานสิบ จะมีเลขที่ใช้ในระบบ 10 ตัว (นิยมใช้กันอยู่ทั่วไป) คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ฐานสอง จะมีเลขที่ใช้ในระบบ 2 ตัว คือ 0 กับ 1 นอกจากนี้ ยังมีระบบฐานแปด ฐานสิบหก ฯ เลขระบบฐานอื่นไม่สู้เป็นที่นิยมนัก
รหัสตัวเลขเป็นรหัสตัวเลขที่ใช้ป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลข 1 จำนวน จะใช้ที่เก็บเป็นชุดของไบต์ 4 ชุด เรียกว่า wordดู word ประกอบ
รูปแบบการเขียนตัวเลขหมายถึง รูปแบบการแสดงจำนวนเลขที่อ่านได้ เห็นได้ เราอาจแสดงจำนวนเลขได้ในหลายรูปแบบด้วยกัน เช่น .25 หรือ 25% เป็นต้น รวมทั้งการเขียนเลขแบบต่าง ๆ อย่างที่ใช้ในโปรแกรมตารางจัดการ เช่น 1000, 1, 000, 1, 000.00 ฯ
หมายถึง การเจาะบัตรคอมพิวเตอร์ให้เป็นรูตรงช่องที่เป็นตัวเลข ตั้งแต่แถว 0 - 9 ถ้าเจาะตัวเลข ต้องเจาะ 1 รูต่อ 1 คอลัมน์ ส่วนการเจาะตัวอักษร ต้องเจาะ 2 - 3 รูใน 1 คอลัมน์ รูหนึ่งที่แถวบนเหนือตัวเลขเรียกว่า zone punch และอีกรูหนึ่งที่ตัวเลขที่เรียกว่า numeric punchดู Hollerith code ประกอบ
ค่าคงที่ตัวเลขหมายถึง ตัวเลขที่ประกอบด้วยเลข 0 - 9 โดยปกติเราแบ่งค่าตัวเลขเป็นค่าคงที่จำนวนเต็ม และค่าคงที่ทศนิยม
ฐานแปดอัฐนิยมหมายถึง ระบบตัวเลขที่มีตัวเลขแปดตัว คือ 0 - 7 อันที่จริงมนุษย์เราคุ้นเคยและใช้ระบบเลขฐานสิบซึ่งมีเลข 10 ตัว คือ 0 - 9 ก็เพราะเรามีนิ้วไว้ให้นับ 10 นิ้วด้วยกัน ส่วนคอมพิวเตอร์นั้นใช้ระบบเลขฐานสองเป็นหลัก
(แพส'เซล) n. กลุ่มของตัวเลขที่หาค่าไม่ได้
(โพค) v. แหย่, กระทุ้ง, กระแทก, ปัก, เสียบ, ดัน, กระตุ้น, ค้นหา.See Also:poke fun at หัวเราะ. n. การผลัก, การดันSyn.prod, โพก <คำอ่าน>เป็นคำสั่งหนึ่งในภาษาเบสิก BASIC ที่สั่งกำหนดให้เก็บค่าใดค่าหนึ่งในเลขที่อยู่ address ที่แน่นอนในหน่วยความจำได้
(เรดิโอเทล'ละกราฟ) n., v. (ส่ง) โทรเลขที่ส่งโดยวิทยุ, วิทยุโทรเลข.See Also:radiotelegraphic adj.
(รีด'ดิง) n. การอ่าน, การอ่านออกเสียง, การพิจารณากฎหมายตามวิธีของรัฐสภา, ความรู้, การแปล, จำนวนตัวเลขที่อ่านได้จากอุปกรณ์ (เช่นจากปรอทวัดอุณหภูมิ) , การอ่านบทละคร, การบรรเลงดนตรี adj. เกี่ยวกับการอ่าน, ใช้สำหรับอ่านSyn.perusal, interpret
(เรียล-) n. ตัวเลขที่แท้จริง (ไม่ใช่เศษส่วนและไม่ใช่เลขผสม)Syn.real
(รีซิพ'ระเคิล) adj. ซึ่งกันและกัน, ต่างตอบแทนกัน n. สิ่งที่เป็นไปทั้งสองฝ่าย, การแลกเปลี่ยนกัน, หมูไปไก่มา, จำนวนเลขที่กลับกันSee Also:reciprocality n.Syn.mutual
เลขที่อยู่สัมพัทธ์หมายถึงเลขที่อยู่ (address) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง โดยใช้จำนวนไบต์ จากเลขที่อยู่อื่นที่มีอยู่แล้ว เช่น เลขที่อยู่สัมพัทธ์ของ "0004" บ่งชี้ว่าข้อมูลนั้นได้เก็บเอาไว้ ห่างจากเลขที่อยู่อีกอันหนึ่งไปอีก 4 ที่ เป็นต้น
การปัดเศษหมายถึง การตัดตัวเลขที่มีค่าน้อยที่สุดออก เพื่อให้ตัวเลขกลม แม้จะมีค่าผิดพลาดบ้าง แต่ก็ควรให้น้อยมากจนสามารถยอมรับได้ เช่น 1, 048, 576 ไบต์ ปัดเศษให้เหลือเพียง 1 ล้านไบต์ เรียกว่า 1 เมกะไบต์ (รับรองตามกฎหมายของสหรัฐ)
Nontri Dictionary
(n)จำนวน, ตัวเลข, สัญลักษณ์, เครื่องหมาย, เลขที่, เลขประจำตัว
(n)การแลกเปลี่ยนกัน, เลขที่กลับกัน
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[-](name)โรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 29 หมู่ 10 ตำบลสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20110 โทรศัพท์ 038-311055-6
(phrase)เปลี่ยนแปรงที่อยู่, เปลี่ยนแปรงเลขที่บ้านใหม่
(n)โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๖๖ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทราวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนชายล้วน โดยรัชกาลที่ 5 สร้างโรงเรียนขึ้นเพื่อลำรึกถึงสมเด็จพระเทพศิรินทร์ทราบรมราชินี (พระมารดา)
(n)เลขที่อ้างอิง
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
文書番号
[ぶんしょばんごう, bunshobangou](n)เลขที่หนังสือ
Longdo Approved DE-TH
(n)|die, pl. Kontonummern| เลขที่บัญชีธนาคาร
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ