167 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*เลก*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: เลก, -เลก-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)man who dedicated his life to the service of a monasteryExample:คุณเสนอเมื่อปลดเกษียณแล้วก็เป็นเลกวัดตลอดไปUnit:คนThai Definition:ชายฉกรรจ์ที่อุทิศชีวิตถวายให้แก่วัดNotes:(โบราณ)
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. ส่วนที่เล็กที่สุดของสารซึ่งสามารถดำรงอยู่ได้ตามลำพัง และทั้งยังคงรักษาสมบัติต่าง ๆ ของสารนั้นไว้ได้ด้วย โมเลกุลประกอบด้วยอะตอมของธาตุ, เดิมเรียกว่า อณู.
น. ชายฉกรรจ์, พลเมืองชั้นสามัญ, เขียนเป็น เลข ก็มี.
น. ชายฉกรรจ์ที่มีผู้อุทิศถวายให้แก่วัด.
น. ชายฉกรรจ์ซึ่งเป็นราษฎรสามัญที่สมควรต้องสักข้อมือเป็นไพร่หลวงหรือไพร่สมเพื่อรับราชการแผ่นดิน เดิมใช้ความสูง ๒ ศอกคืบเป็นเกณฑ์กำหนด ต่อมาใช้อายุ ๑๘ ปีเป็นเกณฑ์กำหนด เว้นแต่จะได้รับยกเว้น.
น. การรับส่งโทรพิมพ์ผ่านชุมสายโดยใช้คลื่นวิทยุ.
ก. ระริกระรี้, ตื่นเต้นแสดงความสนใจเพศตรงข้าม, เช่น พอเห็นหนุ่มหล่อ ๆ มาร่วมงาน สาว ๆ ก็กระดี๊กระด๊ากันเป็นแถว, แสดงท่าทางอย่างเห็นได้ชัดว่าดีใจหรือพอใจมาก เช่น แค่รู้ว่าผู้ชายจะมาสู่ขอลูกสาว ว่าที่แม่ยายก็กระดี๊กระด๊าจนเก็บอาการไม่อยู่, ตื่นเต้นแสดงความดีใจจนเกินงาม เช่น พอรู้ว่าหัวหน้าจะพาไปเที่ยวทะเลก็กระดี๊กระด๊ากันไปทั้งแผนก, กะดี๊กะด๊า หรือ ดี๊ด๊า ก็ว่า.
เจ้าพนักงานถือคบนั่งรายทางรักษาการณ์ เช่น ฝ่ายทหารเกณฑ์ พันทนาย ตำรวจเลวและไพร่เลกหลวง ไพร่สมกำลัง ยืนรักษาประตู ริมถนน และนั่งริ้วกลาบาต (หมายรับสั่งเรื่องต้อนรับแขกเมืองโปรตุเกส พ.ศ. ๒๓๒๙).
น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ชนิด Musculista senhousia (Benson) ในวงศ์ Mytilidae เปลือกบางรูปยาวรี สีเขียวหรือเขียวอมเหลือง มีลายเป็นเส้นสีนํ้าตาล อาศัยอยู่ตามพื้นท้องทะเลที่เป็นเลนปนทราย โดยยึดติดกันเองเป็นกระจุกหรือแผ่เป็นแผ่นใหญ่.
การส่งถ่ายพลังงานความร้อนผ่านเทหวัตถุโดยวิธีการซึ่งโมเลกุลของเทหวัตถุนั้นกระทบกระแทกกันเนื่องจากโมเลกุลสั่นสะเทือนอย่างรวดเร็วมาก.
น. การส่งถ่ายพลังงานความร้อนผ่านของเหลวหรือแก๊สโดยวิธีการซึ่งโมเลกุลของของเหลวหรือแก๊สเคลื่อนที่ไป.
น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทโมโนแซ็กคาไรด์ ชนิดแอลโดเฮ็กโซส ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว มีรสหวานน้อยกว่านํ้าตาลทราย หลอมละลายที่ ๑๖๕ ํ-๑๖๘ ํซ. โมเลกุลของกาแล็กโทสเชื่อมโยงกับโมเลกุลของกลูโคสเป็นโมเลกุลของแล็กโทสซึ่งมีในนํ้านม.
น. ทหารลูกหมู่เลกสมที่ให้หัดตามแบบทหารสมัยใหม่.
น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรด ถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่ไม่หมด เช่น โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต (NaHSO4).
น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยอนุมูลกรดเข้าไปแทนที่หมู่ไฮดรอกซิล (OH) ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของเบสไม่หมด เช่น เลดไฮดรอกซีคลอไรด์ [ Pb(OH)Cl ], เกลือด่าง ก็ว่า.
น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรดถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่จนหมดสิ้น เช่น โซเดียมซัลเฟต (Na2SO4).
กลุ่มของโปรตีน ซึ่งมีนํ้าหนักโมเลกุลประมาณ ๖๕, ๐๐๐ ถึง ๗๐, ๐๐๐.
(คฺราง) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่บางชนิดในสกุล Scapharcaวงศ์ Arcidae ลักษณะคล้ายหอยแครงแต่ขนาดใหญ่กว่า ด้านนอกเปลือกมักมีเส้นคล้ายขน เช่น ชนิด S. inequivalvis (Bruguière), แครงขน ก็เรียก.
น. กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในลักษณะซึ่งโมเลกุลของสารตั้งแต่ ๒ โมเลกุลขึ้นไปเข้ารวมตัวกันเป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้นของสารใหม่ โดยวิธีขจัดโมเลกุลของนํ้าหรือโมเลกุลของสารอื่นออกไป
(แคฺรง) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิดในวงศ์ Arcidae ด้านนอกเปลือกมีสันและร่องจากขั้วเปลือกถึงขอบเปลือก เลือดหอยแครงเมื่อถูกกับอากาศเป็นสีแดง อาศัยตามชายฝั่งทะเลที่พื้นเป็นโคลน เช่น ชนิด Anadara granosa (Linn.)
น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด ในวงศ์ Pinnidae เปลือกค่อนข้างบางเปราะ รูปคล้ายซองใส่ใบพลูใช้กินกับหมาก ปลายด้านหนึ่งแผ่บานออก อีกด้านหนึ่งเรียวลง สีนํ้าตาลหรือสีเทา เช่น ชนิด Pinna bicolorGmelin, Atrina vexillum (Born), ซองพลู ก็เรียก.
น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวพวกหอยเบี้ยชนิด Cypraea moneta Linn . ในวงศ์ Cypraeidae เปลือกสีนวล หลังโค้งนูน ตามขอบช่องเปลือกที่อยู่ด้านท้องเป็นรอยหยัก เรียกว่า เบี้ยจั่น ในสมัยโบราณใช้แทนเงิน, เบี้ยจักจั่น ก็เรียก.
น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวชนิด Cymbiola nobilis (Lightfoot) ในวงศ์ Volutidae เปลือกหนา พื้นผิวด้านนอกเรียบสีน้ำตาลอ่อนมีลายเส้นหยักสีนํ้าตาลไหม้เข้ม เปลือกม้วนเป็นวงซ้อนกันปลายยอดเป็นจุกเหมือนมวยผมของพราหมณ์.
น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวชนิด Cerithidea obtusa (Lamarck) ในวงศ์ Potamididae เปลือกขรุขระ รูปค่อนข้างยาว ปลายแหลม สีเทาอมดำหรือน้ำตาล.
น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิด ในวงศ์ Turritellidae เปลือกม้วนเป็นวงซ้อนกันเป็นเกลียวสูงหลายชั้น ยอดแหลมคล้ายเจดีย์ มักเป็นสีน้ำตาล เช่น ชนิด Turritella terebra (Linn.).
(ฉะเหฺลียบ) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ ในวงศ์ Isognomonidae เปลือกแบน อาจยาวหรือค่อนข้างกลม สีน้ำตาลเข้มหรือเทาเข้ม เช่น ชนิด Isognomon isognomum (Linn.).
(ฉะแหฺลบ) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ชนิด Placuna ephippium (Philipsson) ในวงศ์ Placunidae เปลือกแบนค่อนข้างกลม โค้งเล็กน้อยคล้ายอานม้า สีนํ้าตาลเข้มหรือม่วงเข้ม, อานม้า ก็เรียก.
ที่ใกล้ทะเล เช่น วันหยุดสุดสัปดาห์นี้ไปเที่ยวชายทะเลกัน.
(-โคฺร้ด) น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทไดแซ็กคาไรด์ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๘๐ ºซ. องค์ประกอบเป็นโมเลกุลของกลูโคสเชื่อมกับโมเลกุลของฟรักโทส มีรสหวานจัด มักทำจากอ้อย, สามัญเรียกว่า นํ้าตาลทราย.
น. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโพลีแซ็กคาไรด์ชนิดที่ซับซ้อน มีสูตรเคมี (C6H10O5)nประกอบด้วยโมเลกุลของกลูโคสมากมายเชื่อมโยงกัน เซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสำคัญของเนื้อไม้ ฝ้าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมพลาสติก กระดาษ ไหมเทียม ดินระเบิด ฟิล์มภาพยนตร์ หรือฟิล์มถ่ายรูปชนิดไม่ไวไฟ เป็นต้น.
น. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตจำพวกนํ้าตาลที่ประกอบด้วย โมโนแซ็กคาไรด์ ๒ โมเลกุลเชื่อมกัน มีสูตรโมเลกุล C12H22O11.
(ตะหฺลับ) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด ในวงศ์ Veneridae เปลือกหนารูปคล้ายสามเหลี่ยม ส่วนใหญ่ผิวเรียบ เป็นมัน มีสีและลวดลายต่าง ๆ กัน เช่น ชนิด Meretrix meretrix (Linn.).
ดีบุก (ปรัดเล, ปาเลกัว)
(-โกฺรม) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด ในวงศ์ Ostreidae ลักษณะเหมือนหอยนางรม แต่มีขนาดใหญ่กว่า เปลือกขรุขระ สีขาวคล้ำ เช่น ชนิด Crassostrea iredalei (Faustino), C. belcheri (Sowerby), นางรมใหญ่ ก็เรียก.
น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิด ในวงศ์ Turbinidae เปลือกหนา ค่อนข้างกลม ก้นหอยสั้น ผิวขรุขระ แผ่นปิดช่องเปลือกกลมหนา ด้านนอกโค้ง เรียก เบี้ยตางัว ใช้สำหรับเล่นหมากรุก เช่น ชนิด Turbo marmoratus Linn., T. bruneus (Röding).
ก. ถูให้เกลี้ยง เช่น ถาไม้, (โบ) ลับ, ถูให้คม, เช่น ถามีด (ปาเลกัว), ถาขวาน (ปรัดเล).
น. ถิ่นที่, ตำบล, ภูมิที่ตั้ง, (มักใช้แก่แหล่งทำมาหากิน) เช่น ทำเลการค้า.
น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวชนิด Trochus niloticus Linn. ในวงศ์ Trochidae เปลือกเป็นรูปกรวยคว่ำ ฐานกว้าง ปลายยอดแหลม ผิวขรุขระ มีลวดลายสีม่วงบนพื้นสีอ่อน คล้ายหอยนมสาวแต่มีขนาดใหญ่กว่า เมื่อขัดผิวเปลือกออกจะเห็นเป็นมุก ใช้ทำเป็นเครื่องประดับ.
น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิด ในวงศ์ Trochidae เปลือกเป็นรูปกรวยคว่ำ ฐานกว้าง ปลายยอดแหลม ผิวขรุขระ สีและลายแตกต่างกันตามแต่ละชนิด มีขนาดเล็กกว่าหอยนมนาง เมื่อขัดผิวเปลือกออกจะเห็นเป็นมุก ใช้ทำเป็นเครื่องประดับ.
ว. ติดกันนุงนัง, เกี่ยวเนื่องกันยุ่ง, ผูกติดกันและห้อยแขวนอยู่ (ปาเลกัว), เช่น ให้เอามันผู้ลอบทำแก่ท่านนั้นมาจำน่องแน่ง เอาขึ้นขาหย่างประจารปลงลงทวนด้วยลวดหนัง ๓๐ ที (สามดวง)
น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิดในวงศ์ Ostreidae รูปเปลือกค่อนข้างกลม ยาวรี หรือบิดเบี้ยวตามพื้นที่ที่ติดอยู่ ส่วนใหญ่มีสีเทา เปลือกล่างเป็นแอ่งคล้ายรูปถ้วยยึดติดกับวัสดุที่ใช้เป็นอาหาร เช่น ชนิด Saccostrea forskali (Gmelin), อีรม ก็เรียก.
น. โมเลกุลของนํ้าที่ประกอบอยู่กับโมเลกุลของสารประกอบบางชนิดเมื่ออยู่ในภาวะเป็นรูปผลึก.
น. ชื่อกรดชนิดหนึ่ง ซึ่งมีโมเลกุลใหญ่มากและมีโครงสร้างซับซ้อน มี ๒ ชนิด คือ กรดดีออกซีไรโบ-นิวคลิอิก (deoxyribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า DNA และกรดไรโบนิวคลิอิก (ribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า RNA มีปรากฏอยู่ในสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ทำหน้าที่เก็บรวบรวมและถ่ายทอดพันธุกรรม.
น. สารประกอบอินทรีย์ซึ่งสังเคราะห์ขึ้น มีโมเลกุลขนาดใหญ่ มักผลิตให้เป็นเส้นใยเล็ก ๆ ซึ่งนำไปฟั่นเป็นเส้นด้ายหรือเส้นเชือกที่มีความเหนียวมาก หรือนำไปทอเป็นผ้าได้, เรียกสิ่งที่ทำจากเส้นใยนั้น เช่น ผ้าไนลอน เชือกไนลอน.
น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิดในวงศ์ Cypraeidae เปลือกแข็ง ผิวเป็นมัน หลังโค้งนูน ด้านท้องแบน ช่องเปลือกยาวและแคบ เป็นลำราง ตามขอบทั้ง ๒ ข้างเป็นรอยหยัก เรียกรวม ๆ ว่า หอยเบี้ย, เปลือกหอยเบี้ยที่ใช้เป็นเงินตราในสมัยก่อนมี ๒ ชนิด ได้แก่ ชนิด Cypraea moneta Linn. เรียก เบี้ยจั่นหรือเบี้ยจักจั่น ชนิด C. annulus Linn. เรียก เบี้ยแก้วหรือเบี้ยนาง มีอัตรา ๑๐๐ เบี้ย เป็น ๑ อัฐ คำว่า เบี้ย จึงเป็นคำเรียกแทนเงินติดมาจนทุกวันนี้ เช่น เบี้ยประชุม เบี้ยประกัน เบี้ยเลี้ยงชีพ.
น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวพวกหอยเบี้ย ในวงศ์ Cypraeidae เปลือกสีน้ำตาลเข้ม ด้านหลังมีลายเป็นวงกลมสีอ่อน มี ๒ ชนิด ได้แก่ เบี้ยแก้ใหญ่หรือเบี้ยอีแก้ (Cypraea mauritiana Linn.) ใช้ขัดผ้าให้เรียบเป็นมันและเบี้ยแก้เล็ก (C. caputserpentis Linn.) ใช้ทำยาหรือเครื่องราง.
น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยว หลายชนิด ในวงศ์ Haliotidae เปลือกแบนค่อนข้างกลมหรือรี ผิวขรุขระ ใกล้ขอบเปลือกมีรูเรียงเป็นแถว สีเขียวหรือสีน้ำตาล ด้านในเป็นมุก เช่น ชนิด Haliotis asinina Linn. เป็นอาหารทะเลที่มีราคาแพง ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงเชิงพาณิชย์, โข่งทะเล ก็เรียก.
(โปฺร-) น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็นสารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจำเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย.
น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ ในวงศ์ Veneridae รูปเปลือกค่อนข้างกลม สีนวล ผิวเปลือกมีสันลักษณะเป็นเส้นทั้งในแนวตั้งและแนวนอน เช่น ชนิด Periglypta puerpera (Linn).
น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ชนิด Pholas orientalis Gmelin ในวงศ์ Pholadidae เปลือกบางเปราะค่อนข้างยาว สีขาวคล้ำ ผิวขรุขระสามารถใช้เปลือกเจาะพื้นที่เป็นดินโคลนให้เป็นรูเพื่อผังตัวอยู่ได้, พิม พิมการัง หรือ พิมพการัง ก็เรียก.
(เพฺรียง) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด ในวงศ์ Teredinidae ลำตัวกลมยาวอ่อนนุ่มคล้ายหนอน เปลือกเล็กมากคลุมอยู่เฉพาะหัว เจาะกินเนื้อไม้ ที่แช่อยู่ในน้ำ เช่น ชนิด Lyrodus pedicellatus (Quatrefages), หนอนเพรียง หรือ เพรียงเรือ ก็เรียก.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
๑. การดึงดูด [ ระหว่างโมเลกุลของสารต่างชนิดกัน ]๒. การยึดติด, การประสาน[พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
-ท้องทะเลก้นสมุทร, -ก้นสมุทร[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
หินสมัยอะเลกซานเดรียน[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
อะเลกซานไดรต์[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
โมเลกุลชีวภาพ[พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
ตัวกรองระดับโมเลกุล[พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
๑. การดึงดูด [ ระหว่างโมเลกุลของสารชนิดเดียวกัน ]๒. การเชื่อมติด [ มีความหมายเหมือนกับ coalescence; symphysis ][พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
เทเลกซ์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เทเลกซ์[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
โรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming Refinery ที่มี cracking เพิ่มเข้ามา, โรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming Refinery ที่มี cracking เพิ่มเข้ามา ซึ่งจะทำหน้าที่แตกตัวโมเลกุลของสารไฮโดรคาร์บอนต่างๆให้เป็นน้ำมันที่มีคุณค่าสูงExample:โรงกลั่นน้ำมันประเภทนี้จะให้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหนัก เช่น น้ำมันเตา น้อยกว่าที่ผลิตได้จากโรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming เพราะน้ำมันหนักที่กลั่นได้จะถูกทำให้แตกตัวที่หน่วย cracking เปลี่ยนสภาพเป็นน้ำมันเบาชนิดต่างๆ ที่มีมูลค่าสูงขึ้น[ปิโตรเลี่ยม]
กระบวนการที่ทำให้โมเลกุลขนาดใหญ่ของสารไฮโดรคาร์บอนชนิดหนักแตกตัวเป็นโมเลกุลที่เล็กลงExample:เป็นการทำให้น้ำมันหนักแตกตัวให้เป็นน้ำมันเบาที่มีมูลค่าสูงขึ้น ถ้าทำให้โมเลกุลแตกตัวด้วยความร้อน เรียกว่า Thermal cracking ถ้าแตกตัวโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา เรียกว่า catalytic (cat) cracking และถ้ากระบวนการ cat cracking เกิดขึ้นในบรรยากาศก๊าซไฮโดรเจน เรียกว่า hydrocracking[ปิโตรเลี่ยม]
อิเลกตรอนExample:พาหะที่เคลื่อนที่ผ่านไปในผลึกของของแข็งเกิดเป็นกระแสไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
หน่วยมวลอะตอม, หน่วยของมวล โดยหนึ่งหน่วยมีค่าเท่ากับ 1/12 ของมวลหนึ่งอะตอมของคาร์บอน-12 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.66033  10–27 กิโลกรัม หน่วยนี้ใช้สำหรับอะตอมและโมเลกุล[นิวเคลียร์]
พลังงานยึดเหนี่ยว, พลังงานยึดเหนี่ยวของโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียส มีค่าเท่ากับพลังงานที่น้อยที่สุดสำหรับการแยกนิวเคลียสออกเป็นโปรตอนและนิวตรอน นอกจากนี้ยังหมายถึง พลังงานยึดเหนี่ยวของอิเล็กตรอนด้วย ซึ่งมีค่าเท่ากับพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกอิเล็กตรอนออกมาจากอะตอมหรือโมเลกุล[นิวเคลียร์]
นิวไคลด์กัมมันตรังสีเกิดจากรังสีคอสมิก, นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นเมื่อรังสีคอสมิกชนกับโมเลกุลของแก๊สในชั้นบรรยากาศของโลก เช่น ทริเทียม (<sup>3</sup>H) คาร์บอน-14 (C-14) โซเดียม-22 (Na-22) และ เบริลเลียม-7 (Be-7)[นิวเคลียร์]
สถานะถูกกระตุ้น, สถานะของนิวเคลียส อิเล็กตรอน อะตอม หรือโมเลกุล ขณะเมื่อมีพลังงานสูงกว่าระดับปกติ พลังงานส่วนเกินของนิวเคลียสมักถูกปลดปล่อยเป็นรังสีแกมมา สำหรับพลังงานส่วนเกินของโมเลกุลอาจปรากฏในลักษณะการเรืองแสงหรือความร้อน (ดู ground state ประกอบ)[นิวเคลียร์]
การวิเคราะห์โดยการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์, การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ เพื่อหาโครงสร้างของอะตอม หรือโมเลกุลในธาตุ หรือสารประกอบที่มีการเรียงตัวเป็นระเบียบซ้ำๆ กัน เช่น เพชร โซเดียมคลอไรด์ รวมทั้งชีวโมเลกุลที่มีโครงสร้างซับซ้อน เช่น โปรตีน กรดนิวคลีอิก[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
ผลผลิตการแยกสลายด้วยรังสี, สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีสารใดๆ เช่น การฉายรังสีอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และ เกิดการแยกสลาย ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียรและทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหารได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง[นิวเคลียร์]
การแยกสลายด้วยรังสี, การแตกตัว หรือสลายตัว ของโมเลกุลด้วยรังสี เช่น ขณะเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จะมีน้ำส่วนหนึ่งที่อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เกิดการแตกตัวเป็นไฮโดรเจนและออกซิเจน[นิวเคลียร์]
ชีวโมเลกุล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
สารประกอบติดฉลาก(รังสี), สารประกอบเข้ากัมมันตรังสี , สารประกอบทำรอย, สารสังเคราะห์ที่มีนิวไคลด์กัมมันตรังสีประกอบอยู่ในโมเลกุล มี 2 ประเภทหลัก คือ การแทนที่นิวไคลด์เสถียรในโมเลกุลด้วยนิวไคลด์กัมมันตรังสีของธาตุเดียวกัน อีกประเภทหนึ่งเป็นการแทนที่นิวไคลด์เสถียรในโมเลกุลด้วยนิวไคลด์กัมมันตรังสีของธาตุต่างชนิดกันExample: [นิวเคลียร์]
คู่ไอออน, ไอออนบวกและไอออนลบที่มีขนาดประจุเท่ากัน เกิดจากการแตกตัวของอะตอมหรือโมเลกุลที่เป็นกลางเมื่อได้รับรังสี โดยอิเล็กตรอนที่หลุดออกจากอะตอมหรือโมเลกุลจะเป็นไอออนลบ ส่วนอะตอมหรือโมเลกุลที่อิเล็กตรอนหลุดออกไปนั้นจะเป็นไอออนบวก[นิวเคลียร์]
ไอออน, อะตอมหรือโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้าจากการสูญเสียหรือได้รับอิเล็กตรอนหนึ่งอนุภาคหรือมากกว่า อะตอมหรือโมเลกุลที่สูญเสียอิเล็กตรอนจะเป็นไอออนบวก ถ้าได้รับอิเล็กตรอนเข้ามาจะเป็นไอออนลบ[นิวเคลียร์]
สถานะพื้น , สถานะของนิวเคลียส อิเล็กตรอน อะตอม หรือโมเลกุล ขณะมีระดับพลังงานปกติ ซึ่งเป็นระดับต่ำที่สุด <br>(ดู excited state ประกอบ)</br>[นิวเคลียร์]
โปรตีน, โปรตีน [ โปฺร- ] น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็น สารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจําเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. (อ. protein).Example:<p>ลำดับเบสภายในดีเอ็นเอเป็นตัวกำหนดชนิดของโปรตีนที่สร้าง โดยลำดับเบสถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) โดยกระบวนการที่เรียกว่า transcription หลังจากนั้นลำดับเบสทีละ 3 เบสที่เรียงติดกันของ mRNA แปลรหัสเป็นกรดอะมิโนแต่ละตัวกระบวนการนี้เรียกว่า translation ในกระบวนการนี้อาศัย ribosome (จับกับ mRNA ในขณะเกิดการแปลรหัส) transfer RNA (RNA ที่มีหน้าที่ลำเลียงกรดอะมิโนเข้าสู่ ribosome เพื่อมาเชื่อมต่อเป็นโปรตีนตามรหัสของ mRNA) หลังจากผ่านกระบวนการแปลรหัสได้โปรตีนที่เซลล์ต้องการ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุดสงวน ชูสกุลธนะชัย. “ดีเอ็นเอ: รหัสแห่งชีวิต” ในดีเอ็นเอ : ปริศนาลับรหัสชีวิต. หน้า 19-38. ปทุมธานี : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, 2546.[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การกระทำโดยตรง, รังสีถ่ายเทพลังงานโดยตรงให้กับชีวโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น ดีเอ็นเอ และโปรตีน แล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกุลนั้น[นิวเคลียร์]
อนุมูลเสรี, อนุมูลอิสระ, ธาตุ หรือ หมู่ธาตุที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว (unpaired electron) อยู่ในโครงสร้าง เกิดขึ้นจากการกระตุ้นโมเลกุลของสารด้วยปฏิกิริยาเคมีหรือพลังงานบางชนิด ส่วนใหญ่มีความไวในการทำปฏิกิริยาเคมี เนื่องจากต้องการจับคู่กับอิเล็กตรอนอื่นเพื่อเข้าสู่สถานะเสถียร อนุมูลเสรีใช้จุดทึบเป็นสัญลักษณ์ เช่น H•Example: [นิวเคลียร์]
อาหารทะเลกระป๋อง[TU Subject Heading]
แรงกระทำระหว่างโมเลกุล[TU Subject Heading]
การกระทำโดยอ้อม, การที่รังสีถ่ายเทพลังงานให้กับโมเลกุนของน้ำ มีผลให้เกิดอนุมูลเสรี ซึ่งมีความไวในการทำปฏิกิริยาทางเคมีกับชีวโมเลกุล แล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกุลนั้น[นิวเคลียร์]
การรบที่เลกซิงตัน, ค.ศ. 1775[TU Subject Heading]
ชีวโมเลกุล[TU Subject Heading]
การแยกวิเคราะห์โมเลกุล[TU Subject Heading]
พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล[TU Subject Heading]
ทฤษฎีโมเลกุล[TU Subject Heading]
พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล (พืช)[TU Subject Heading]
เลกตินจากพืช[TU Subject Heading]
การสร้างสำเนาที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการของโมเลกุล เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิต[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เรดิโอไลติกโปรดักส์, คือ สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีอาหาร เมื่อรังสีทะลุผ่านอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และเกิดปฏิกิริยาเรดิโอไลซิส ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียร และไปทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร ได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง ซึ่งเรียกโดยรวมว่า เรดิโอไลติก โปรดักส์ การเกิดอนุมูลอิสระนอกจากจะเกิดจากการใช้รังสีแล้ว ยังเกิดจากการใช้ความร้อน เช่น การต้ม การทอด การอบ การย่าง และการปิ้ง และอนุมูลอิสระที่เกิดจากการใช้ความร้อนนี้ทำให้เกิดสารประกอบต่างๆ ที่มี โมเลกุลเล็กลงได้เช่นกัน แต่เรียกโดยรวมว่าเทอร์โมไลติกโปรดักส์ และเมื่อเปรียบเทียบกับเรดิโอไลติกโปรดักส์ พบว่า สารประกอบส่วนใหญ่เป็นชนิดเดียวกัน และเป็นสารประกอบที่ตรวจพบได้ในอาหารที่ไม่ได้ฉายรังสี[พลังงาน]
สารเภสัชรังสี เภสัชภัณฑ์รังสี, หมายถึง ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบ หรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากล สารเภสัชรังสี ใช้ในการตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีกับผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าว จะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดง "พยาธิสภาพ" ตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ[พลังงาน]
เดนดริเมอร์ แอนติบอดี้ คือ แอนติบอดี้ที่เชื่อมติดกับโมเลกุลพอลิเมอร์ที่มีแขนงกิ่งก้านยื่นออกมาคล้ายต้นไม้ ซึ่งเรียกว่า เดนดริเมอร์ โดย เดนดริเมอร์ แอนติบอดี้ มักใช้ในการตรวจวัดปริมาณสารแอนติเจน และถือว่าเป็นการประยุกต์ใช้เดนดริเมอร์ในการวัดสารภูมิคุ้มกันของร่างกายวิธีหนึ่ง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
สารประกอบที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบอยู่ในโมเลกุล ซึ่งอาจเป็นพวกอีเทอร์หรือแอลกฮอล์ สำหรับประเทศไทยใช้ MTBE (Methyl Tertiary Butyl Ether) เติมในน้ำมันเบนซิน เพื่อช่วยให้เกิดการเผาไหม้สมบูรณ์มากขึ้น[ปิโตรเลี่ยม]
ไบโอเซ็นเซอร์, อุปกรณ์ตรวจจับ บันทึก แสดง หรือส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา โดยที่อุปกรณ์ดังกล่าวทำงานโดยอาศัยสารชีวภาพ ในขั้ตอนใดขั้นตอนหนึ่งของการตรวจวัดสารเคมีหรือชีวโมเลกุลจำเพาะชนิดใดชนิดหนึ่ง[เทคโนโลยีชีวภาพ]
โคลนนิ่ง, โคลนนิ่ง กระบวนการสร้างสิ่งที่เหมือนกันโดยสมบูรณ์กับสิ่งที่มีอยู่ก่อน ไม่ว่าจะเป็น ดีเอ็นเอ ยีน เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิต การสร้างชุดของดีเอ็นเอที่เหมือนกันทุกประการเรียกว่า การโคลนนิ่งดีเอ็นเอ (DNA Cloning) หรือ การโคลนนิ่งโมเลกุล (Molecular Cloning) การสร้างเซลล์ที่เหมือนกันทุกประการเรียกว่า การโคลนนิ่งเซลล์ (Cell Cloning) เป็นต้นExample:ปัจจุบันมีผู้จำแนกคำว่า โคลนนิ่ง ออกเป็นสองแบบ เพื่อให้เห็นความแตกต่างของเป้าหมายการทำโคลนนิ่งคือ การโคลนนิ่งเพื่อการรักษา (Therapeutic Cloning) และการโคลนนิ่งเพื่อการสืบพันธุ์ (Reproductive Cloning) โดยการโคลนนิ่งแบบแรกต่างจากการโคลนนิ่งในแบบหลังคือ จะไม่มีการพัฒนาของสิ่งที่ได้จากกระบวน จนเป็นตัวสัตว์ที่สมบูรณ์ แต่จะเป็นการโคลนเพื่อให้เกิดเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่มีประโยชน์ใช้ในการรักษาโรคได้[เทคโนโลยีชีวภาพ]
ยางธรรมชาติสายพันธุ์หนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างโมเลกุลของยางเป็น ทรานส์-พอลิไอโซพรีน (trans-polyisoprene) ยางที่มีลักษณะโครงสร้างดังกล่าวสามารถใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตสายพานและลูก กอล์ฟ[เทคโนโลยียาง]
ยางธรรมชาติสายพันธุ์หนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างโมเลกุลเป็น ทรานส์-1, 4 พอลิไอโซพรีน (trans-1, 4 polyisoprene) โดยปกติใช้ทำผลิตภัณฑ์ประเภทหมากฝรั่ง[เทคโนโลยียาง]
ยาง CR เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากมอนอเมอร์ของคลอโรพรีน มีทั้งประเภทที่ใช้งานทั่วไปและประเภทใช้งานพิเศษ เช่น ทำกาวยาง ยางใช้เคลือบ และวัสดุอุดรอยรั่ว เป็นต้น เนื่องจากโมเลกุลของยาง CR สามารถจัดเรียงตัวได้อย่างเป็นระเบียบภายใต้สภาวะที่เหมาะสม ยางชนิดนี้จึงสามารถตกผลึกได้เช่นเดียวกับยางธรรมชาติ มีค่าความทนต่อแรงดึงสูง มีค่าความทนต่อการฉีกขาดและความต้านทานต่อการขัดถูสูง ยาง CR มีสมบัติทนต่อน้ำมันได้ปานกลางถึงดี และทนต่อความร้อน แสงแดด และโอโซนได้ค่อนข้างดี และยังมีสมบัติการหน่วงไฟ จึงนิยมนำไปใช้ในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ในงานภายนอกอาคาร เช่น ยางขอบหน้าต่าง ยางรองคอสะพาน ยางปลอกสายเคเบิล เป็นต้น[เทคโนโลยียาง]
ยาง CSM เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างพอลิเอทิลีนและ ของผสมของก๊าซคลอรีน (Cl2) กับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) มีหลายเกรดขึ้นกับปริมาณคลอรีนในโมเลกุล สมบัติเชิงกลของยางชนิดนี้ค่อนข้างดี ทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากโอโซนและสภาพอากาศได้อย่างดีเยี่ยม ทนต่อการเปลี่ยนสี (discoloration) อันเนื่องมาจากแสงแดดและรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) ได้ดีอีกด้วย แต่สามารถทนต่อน้ำมันได้ปานกลางถึงดี ทนต่อกรดและสารเคมีต่างๆ ที่มีฤทธิ์กัดกร่อนได้ดีเยี่ยม และยังทนต่อน้ำร้อนได้ดี แต่มีข้อจำกัดคือ มีค่า compression set ที่ต่ำ และการใช้งานที่อุณหภูมิต่ำขึ้นกับปริมาณของคลอรีน ถ้าปริมาณของคลอรีนสูงสมบัติการหักงอของยางที่อุณหภูมิต่ำจะด้อยลง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ยางชนิดนี้ ได้แก่ ปลอกหุ้มสายเคเบิล ท่อยาง ยางหุ้มลูกกลิ้ง ยงบุผนัง ท่อที่ต้องทนต่อกรด แผ่นยางมุงหลังคา แผ่นยางรองสระน้ำ เรือยาง เป็นต้น[เทคโนโลยียาง]
ยางธรรมชาติที่มีการเติมสารเคมี เช่น hydroxylamine ลงไปในน้ำยางก่อนที่จะเติมกรดเพื่อทำให้ยางจับตัว สารดังกล่าวจะเข้าไปทำปฏิกิริยากับหมู่อัลดีไฮด์ ป้องกันไม่ให้เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของยางดิบที่เก็บไว้ก่อนนำมา ใช้แปรรูป ทำให้ค่าความหนืดคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา[เทคโนโลยียาง]
ปริมาณของธาตุทองแดงที่อยู่ในส่วนที่ไม่ใช่ยางในน้ำยาง มีผลต่อความทนทานต่อการเสื่อมสภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากน้ำยางนั้น เนื่องจากทองแดงเป็นตัวกระตุ้นปฏิกิริยาออกซิเดชันในโมเลกุลของยาง[เทคโนโลยียาง]
การทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ เช่น การเติมกำมะถันในยางธรรมชาติ (กระบวนการเรียกว่า vulcanization) ทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของยางโดยกำมะถัน ได้ยางที่มีโครงสร้างแบบเชื่อมโยง (crosslink) หรือร่างแห (network) ทำให้ยางเปลี่ยนสมบัติจากอ่อนนิ่ม เป็นยางที่มีสมบัติแข็งและเหนียวขึ้น เหมาะแก่การใช้งาน[เทคโนโลยียาง]
ยางไซไคลส์เป็นยางธรรมชาติที่ปรับสภาพโครงสร้างโมเลกุลยางให้มีสัดส่วน ของพันธะที่ไม่อิ่มตัวในโมเลกุลยางลดลง โดยการทำให้โมเลกุลของยางธรรมชาติเกิดการเชื่อมโยงกันเอง เป็นแบบวงแหวน (cyclize) ทำให้สมบัติของยางเปลี่ยนไป มีความแข็งแรงมากกว่าปกติ สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง[เทคโนโลยียาง]
ยางธรรมชาติอิพ็อกซิไดซ์เป็นยางที่ได้จากการเติมออกซิเจนเข้าไปใน โมเลกุลของยางตรงบริเวณพันธะคู่เกิดเป็นวงแหวนอิพ็อกไซด์โดยผ่านปฏิกิริยาอิ พ็อกซิเดชัน (Epoxidation) โดยมีระดับของการเกิดอิพ็อกซิเดชันตั้งแต่ร้อยละ 10-50 ยาง ENR ที่ได้จึงมีความเป็นขั้วสูงกว่ายางธรรมชาติทั่วไป ทำให้ทนต่อความร้อนและน้ำมันได้ดีขึ้น โดยยาง ENR เกรดที่มีระดับอิพ็อกซิเดชันสูงถึงร้อยละ 50 จะมีความเป็นขั้วสูงเทียบเท่ากับยาง NBR ที่มีปริมาณอะไครโลไนไทรล์ปานกลาง นอกจากนี้ยังพบว่ายาง ENR ที่เสริมแรงด้วยซิลิกาจะมีสมบัติคล้ายกับยางธรรมชาติที่เสริมแรงด้วยเขม่าดำ อีกด้วย การเตรียมยาง ENR นี้สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง[เทคโนโลยียาง]
ยาง EPDM เป็นยางสังเคราะห์ที่พัฒนามาจากยาง EPM โดยเติมมอนอเมอร์ตัวที่สาม คือ ไดอีน ลงไปเล็กน้อยในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ทำให้ยางที่ได้มีส่วนที่ไม่อิ่มตัว (พันธะคู่) อยู่ในสายโซ่โมเลกุล ยางชนิดนี้จึงสามารถคงรูปได้ด้วยกำมะถัน แต่ไดอีนที่เติมลงไปไม่ได้ไปแทรกอยู่ที่สายโซ่หลักของโมเลกุล ดังนั้นสายโซ่หลักก็ยังคงเหมือนเดิมหรือไม่มีผลต่อสายโซ่หลักมากนัก จึงทำให้ยาง EPDM ยังคงมีสมบัติเด่นในเรื่องการทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อน แสงแดด ออกซิเจน โอโซน สารเคมี กรด ด่างได้ดีมาก และมีความยืดหยุ่นตัวได้ดีที่อุณหภูมิต่ำเมื่อเทียบกับ ยางธรรมชาติ มักใช้ทำผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ภายนอกเนื่องจากทนต่อสภาพอากาศได้ดีและใช้ผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์เป็นส่วนใหญ่ เช่น ยางขอบกระจก ยางปัดน้ำฝน ท่อยางของหม้อน้ำรถยนต์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้เป็นฉนวนหุ้มสายเคเบิล สายพานลำเลียง แผ่นยางกันน้ำ แผ่นยางมุงหลังคา[เทคโนโลยียาง]
ยาง EPM เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากการทำปฏิกิริยาโคพอลิเมอไรเซชันระหว่างมอนอเมอร์ ของเอทิลีน (ethylene) กับโพรพิลีน (propylene) มีลักษณะการจัดเรียงตัวของโมเลกุลแบบอสัณฐานและมีสมบัติเป็นยาง แต่ไม่มีส่วนที่ไม่อิ่มตัว (ไม่มีพันธะคู่) จึงทำให้มีสมบัติเด่นในเรื่องความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากแสง แดด ออกซิเจน ความร้อน โอโซน และสารเคมี แต่ยางชนิดนี้มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กำมะถันในการคงรูปได้ (เนื่องจากไม่มีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล) ดังนั้นการทำให้ยางคงรูปจึงต้องใช้เพอร์ออกไซด์เท่านั้น การใช้งานนิยมใช้ทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานภายนอก เช่น ยางขอบประตู ยางขอบหน้าต่าง โอริง ฉนวนหุ้มสายเคเบิล เป็นต้น[เทคโนโลยียาง]
ยางฟลูออโรคาร์บอนเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่มีฟลูออรีนเป็นองค์ ประกอบอยู่ในโมเลกุล ทำให้ยางมีความเป็นขั้วและมีความเสถียรสูงมาก ทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากสภาพอากาศ ความร้อน ปฏิกิริยาออกซิเดชัน เปลวไฟ และสารเคมีต่างๆ ได้ดีเยี่ยม ถึงแม้ว่ายางชนิดนี้จะทนสารเคมีต่างๆ ได้ดีแต่ไม่แนะนำให้นำไปผลิตผลิตภัณฑ์ที่สัมผัสกับตัวทำละลายที่มีขั้ว เช่น คีโตน อีเทอร์และเอสเทอร์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำ สารประกอบเอมีน กรดไฮโดรฟลูออริกและกรดคลอโรซัลโฟนิคที่ร้อน น้ำร้อนและไอน้ำ เมทานอล และน้ำมันเบรกที่มีไกลคอลเป็นองค์ประกอบ ยางฟลูออโรคาร์บอนมีหลายเกรดแตกต่างกันตามโครงสร้างทางเคมีและปริมาณของ ฟลูออรีนในยาง การใช้งานค่อนข้างจำกัดเนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูงมาก มักนำไปผลิตปลอกหุ้มสายไฟหรือสายเคเบิล โดยเฉพาะในกรณีที่ต้องการความทนทานต่อความร้อน โอโซน สารเคมี และเปลวไฟสูงเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ โดยเฉพาะชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องบิน จรวด เช่น ท่อน้ำมันเชื้อเพลิง ยางโอริง ปะเก็น ยางซีล เป็นต้น[เทคโนโลยียาง]
ยางธรรมชาติสายพันธุ์หนึ่งที่ได้จากต้นยางกัตตา (Palaquium gutta) ซึ่งเป็นต้นไม้ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีสมบัติความยืดหยุ่นไม่ดีเนื่องจากลักษณะโครงสร้างโมเลกุลเป็น ทรานส์-1, 4-พอลิไอโซพรีน (trans-1, 4-polyisoprene) แต่มีความเป็นฉนวนที่ดี นิยมใช้ในการทำส่วนประกอบของลูกกอล์ฟ ทำฟันปลอม ฉนวนหุ้มสายเคเบิลไฟทั้งใต้ดินและในทะเล[เทคโนโลยียาง]
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[khā ilēktrōnēkātiwitī] (n, exp) EN: electronegativity  FR: électronégativité [ f ]
[mōlēkun] (n) EN: molecule  FR: molécule [ f ]
[mōlēkun nām] (n, exp) EN: H2O  FR: molécule d'eau [ f ] ; H2O
[sān chīwamōlēkun] (n) EN: biomolecule
[sūt mōlēkun] (n, exp) EN: chemical formula  FR: formule chimique [ f ]
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)เสียงสูงสั้นๆ เกิดจากเครื่องอิเลกทรอนิกส์Syn.beep
(vt)ดูดเสียงคำที่หยาบคายออกแล้วใส่เสียง บี๊บ ของเครื่องอิเลกทรอนิกส์เข้าไปแทน
(vt)ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางโมเลกุล (ทางชีวเคมี)
(n)น้ำหนักโมเลกุลของสสารSee Also:กรัมโมเลกุล
(adj)ซึ่งเกี่ยวกับโมเลกุลSee Also:ซึ่งประกอบด้วยโมเลกุลSyn.atomic, microscopic
(adj)เกี่ยวกับโมเลกุลSyn.microscopic, atomic, subatomic
(n)น้ำหนักโมเลกุลSyn.weight
(n)การประกอบด้วยโมเลกุล
(adv)ประกอบด้วยโมเลกุล
(n)โมเลกุลSee Also:อณูของสารประกอบSyn.bit, atom, particleAnt.lot, mass
(n)คาร์โบไฮเดรตที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงพบในพืชและผลไม้สุกSee Also:สารเพคตินSyn.gelatin, isinglass
(adj)เกี่ยวกับโครงสร้างโมเลกุล
(n)อะตอมซึ่งแทนที่อะตอมอื่นในโมเลกุล
(n)สารประกอบสีเหลืองในโมเลกุลของสีย้อม
Hope Dictionary
(แอททัมมิส'ซิที) n. จำนวนอะตอมในหนึ่งโมเลกุลของแก๊ส. =valence
กฎที่ว่าแก๊สทั้งหลายที่มีปริมาตรที่เท่ากัน ภายใต้อุณหภูมิและความกดดันเดียวกันย่อมมีจำนวนโมเลกุลเท่ากัน
ค่าคงที่ 6.02 X 1023 ซึ่งเป็นจำนวนอะตอมในกรัม-อะตอม หรือจำนวนโมเลกุลในกรัม-โมเลกุลSyn.Avogadro's constant Avogadro number
(บอนดฺ) { bonded, bonding, bonds } n. ข้อผูกมัด, ข้อตกลงในสัญญา, สิ่งผูกมัด, พันธนาการ, สลัก, ตรวน, โซ่, การคุมขัง, การติดคุก, พันธบัตร, ใบกู้ยืม, ใบหุ้นกู้, พันธุกรรม, พันธะระหว่างอะตอมในโมเลกุล vi., vt. (ทำให้) ผูกมัดเข้าด้วยกัน, เชื่อมติด, ผนึกเข้าด้วยกัน adj. เกี่ยวกับควา
(บูท'เลก) n. เหล้าเถื่อน vt. & vi. กลั่นขายหรือขนส่งเหล้าเถื่อนSee Also:bootlegger n.
(โบ'เลก) n. ภาวะขาโก่ง, ขาที่โก่งงอ.See Also:bowlegged adj. ขาโก่ง bowleggedness n. ภาวะขาโก่ง
(โคฮี'ซิฟว) adj. ซึ่งยึดติด, ซึ่งติดเกาะ, ซึ่งเกาะกัน, เกี่ยวกับโมเลกุลที่ยึดเกาะของสาร.
(คันฟิกยะเร'เชิน) n. โครงร่าง, สัณฐาน, รูปร่างภายนอก, องค์ประกอบ, กลุ่มดวงดาว, ตำแหน่งของอะตอมในโมเลกุล.See Also:configurational adj. ดูconfiguration configurative adj. ดูconfigurationSyn.arrangement, set
(แดด'ดีลองลเลกซฺ) n. แมลงขายาวมาก
(ดอก'เลก) n. สิ่งที่งอเป็นมุม
(ฟอร์'เลก) n. ขาหน้า
(ไฮ'เดรท) n. สารประกอบที่มีโมเลกุลของน้ำอยู่ด้วย. vt., vi.รวมกับน้ำ.See Also:hydration, hydrator n.
(เลก) { legged, legging, legs } n. ขา, ช่วงการเดินทางหรือเดินเรือ, นักต้ม vt. เคลื่อนด้วยเท้า พายด้วยเท้า -Phr. (pull one's leg ล้อเลียน)See Also:leggy adj.
(เลก'กะซี) n. มรดก, มรดกตกทอด, ของขวัญSyn.estate, bequest
(เลก'กิท) n. ทูต, ทูตขององค์สันตะปาปา, ตำแหน่งหรือที่ทำการของทูต, ตำแหน่งหรือที่ทำการของทูตขององค์สันตะปาปาSee Also:legationary adj.
(ลิเก'เทอะ, เลก'กะทอร์') n. ผู้ยกมรดกให้, ผู้ทำพินัยกรรมยกมรดกให้.See Also:legatorial adj.
(เลก'กิด) adj. มีขา, มีจำนวนหรือชนิดของขาที่ระบุไว้
(เลก'กิง) n. ที่ปกคลุมขา, ที่หุ้มขา.See Also:legginged adj. ดูleggingSyn.leggin
(เลก'กี) adj. มีขายาวอย่างงุ่มง่าม, มีขายาวที่สวย, เกี่ยวกับขา.See Also:legginess n. ดูleggy
(เลก'กูม, ลิกูม') n. พืชฝักตระกูล ถั่ว, ฝักของพืชดังกล่าว, ถั่ว
(โมล) n. น้ำหนักโมเลกุลเป็นกรัมของสาร, กรัม-โมเลกุล.Syn.mole
(โม'ลัล) adj. เกี่ยวกับน้ำหนักโมเลกุลเป็นกรัม
(โมล) n. ไฝ, ครรภ์ไข่ปลาดุก, ก้อนโลหิตในมดลูก, กรัมโมเลกุล, ตัวตุ่น, กำแพงหินกั้นน้ำ
(โมเลค'คิวละ) adj. เกี่ยวกับโมเลกุล
(มอล'ละคูล) n. โมเลกุล, ปริมาณที่น้อยที่สุดของสารSyn.smallest particle
(พิก'เซลฺ) ย่อมาจาก picture element หมายถึง จุดที่เล็กที่สุดที่รวมตัวกันเป็นภาพ เหมือนอะตอมที่รวมตัวกันเป็นโมเลกุล (อะตอมนั้นไม่อาจจะแยกแยะต่อไปได้อีกแล้ว) จอภาพที่แสดงภาพที่มีจุด เล็ก ๆ มาก จะยิ่งให้ภาพที่คมชัด ในปัจจุบัน จอภาพชั้นดีและมีประสิทธิภาพสูง จะมีถึง 1, 280 จุดในแนวตั้ง และ 1, 024 จุดในแนวนอน
(ซับสทิช'ชูเอินทฺ) n. อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่แทนที่อะตอมหรือกลุ่มอะตอมอื่นในโมเลกุลของสารประกอบเดิม. adj. แทนที่ได้, สามารถแทนที่ได้
(ทะเลก'กระฟี) n. เทคนิคการส่งโทรเลข, เทคนิคของระบบโทรเลข
(คำเสรมหน้า) ไม่, ไม่ม, ปราศจาก, ไร, สลัด, เอาออก, เลก, ยกเลิก, ทำให้สูญเสย, ตรงกันข้าม
n. วิตามิน D ที่มีตามธรรมชาติพบในน้ำมันตับปลา มันมีโครงสร้างโมเลกุลแตกต่างจากvitamin-D2เล็กน้อย.Syn.cholecalciferol
Nontri Dictionary
(n)โมเลกุล, อณู
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[แอมฟิพาติก](n)สารที่มีทั้งส่วนที่ชอบน้ำและไม่ชอบในโมเลกุลเดียวกัน
การปรับเปลี่ยนภายหลังการแปลซึ่งโมเลกุลของคาร์โบไฮเดรตหนึ่งหรือมากกว่าจะถูกเพิ่มไปยังโปรตีน
แปดโมเลกุล
(n)ลูกโซ่โมเลกุลของโปรตีนขนาดยาว (Chain molecule, Poly molecular chain)
กลุ่มของความผิดปกติที่มีผลต่อฮีโมโกลโมเลกุลในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ให้ออกซิเจนไปยังเซลล์ทั่วร่างกาย คนที่มีความผิดปกตินี้มีโมเลกุลของโมโกลเศร้าที่เรียกว่าฮีโมโกล S ซึ่งสามารถบิดเบือนเซลล์เม็ดเลือดแดงเป็นเคียวหรือเสี้ยว, รูปร่าง
เป็นชนิดของโมเลกุลและระดับของยาขับปัสสาวะมักจะใช้ในการรักษาความดันโลหิตสูง (แรงดันโลหิตสูง) และอาการบวมน้ำ (เช่นที่เกิดจากหัวใจ, ตับ, หรือโรคไต).
Saikam JP-TH-EN Dictionary
分子
[ぶんし, bunshi] TH: โมเลกุล
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ