การเลี้ยวเบนเชิงเรขาคณิต[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ทัศนศาสตร์เชิงเรขาคณิต[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์[TU Subject Heading]
เรขาคณิต[TU Subject Heading]
เรขาคณิตในสถาปัตยกรรม[TU Subject Heading]
เรขาคณิตวิเคราะห์[TU Subject Heading]
เรขาคณิตเชิงพรรณา[TU Subject Heading]
เรขาคณิตเชิงภาพฉาย[TU Subject Heading]
การจัดเรียงตัวทางเรขาคณิต[การแพทย์]
การเจือจางแบบเรขาคณิต, บดผสมกับยาพื้นทีละน้อยๆ[การแพทย์]
hydraulic geometry, เรขาคณิตชลศาสตร์[เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (มัชฌิมเรขาคณิต), ค่ากลางของข้อมูลชุดหนึ่งใช้อักษรย่อ G.M. หาได้จากสูตร เมื่อ Xi เป็นข้อมูลตัวที่ i และ N เป็นจำนวนข้อมูลทั้งหมด[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ทรงสี่หน้า, รูปทรงเรขาคณิตชนิดหนึ่ง ซึ่งมีรูปสามเหลี่ยมประกอบกันสี่ด้าน ดังรูป[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส, ทฤษฎีบทเรขาคณิตที่เกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งกล่าวว่า ผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉากจะเท่ากับกำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แผนภูมิ, รูปเรขาคณิตหรือรูปภาพแทนขนาดของข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลทางสถิติ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ลำดับเรขาคณิต, ลำดับที่อัตราส่วนร่วมระหว่างพจน์ที่ n + 1 กับพจน์ที่ n มีค่าคงตัว เช่น ลำดับ 1, 2, 4, 8, [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เส้นตั้งฉาก, เส้นตรงสองเส้นตั้งฉากกัน ก็ต่อเมื่อเส้นตรงทั้งสองตัดกันแล้วมุมประชิดจะมีขนาดเท่ากัน ในเรขาคณิตวิเคราะห์เส้นตรงสองเส้นซึ่งไม่อยู่ในแนวดิ่งจะตั้งฉากซึ่งกันและกัน ก็ต่อเมื่อผลคูณของความชันของเส้นตรงทั้งสอง มีค่าเท่ากับ -1[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
อนุกรมเรขาคณิต, อนุกรมที่ได้จากลำดับเรขาคณิต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
อัตราส่วนร่วม, อัตราส่วนระหว่างพจน์ที่ n + 1 กับพจน์ที่ n ของลำดับเรขาคณิต[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การแปลง (ทางเรขาคณิต), การเปลี่ยนแปลงรูป ๆ หนึ่ง โดยการเลื่อนขนาน การสะท้อน หรือการหมุน เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การเลื่อนขนาน, การเลื่อนขนานบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีการเลื่อนจุดทุกจุดไปบนระนาบตามแนวเส้นตรงในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะทางที่เท่ากันตามที่กำหนด[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ความเท่ากันทุกประการ, รูปเรขาคณิตสองรูปเท่ากันทุกประการ ก็ต่อเมื่อ เคลื่อนที่รูปหนึ่งไปทับอีกรูปหนึ่งได้สนิท[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รูปเรขาคณิต, รูปที่ประกอบด้วย จุด เส้นตรง เส้นโค้ง ระนาบ ฯลฯ อย่างน้อยหนึ่งอย่าง[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ภาพแบบไอโซเมตริก, ภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติที่เขียนบนกระดาษจุดไอโซเมตริก[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แทนแกรม, ภาพต่อที่เก่าแก่ของจีนโบราณ ใช้เล่นเป็นเกม ซึ่งได้รับความนิยมในช่วงศตวรรษที่ 19 เรียกว่า ฉีเฉียวตู ซึ่งหมายความว่า แบบแผนกลอันแยบยล ประกอบด้วยรูปเรขาคณิต 7 ชิ้น 5 ใน 7 ชิ้น เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก อีก 2 ชิ้น ชิ้นหนึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และอีกชิ้นเป็[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รูปร่าง, การนำเส้นตรงหรือเส้นโค้งมาประกอบเข้าด้วยกันเป็นรูปปิด ลักษณะเป็น 2 มิติ คือมีความกว้างและความยาว แต่ไม่มีความลึกหรือความหนา แบ่งได้เป็น รูปร่างเรขาคณิต รูปร่างในธรรมชาติ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รูปร่างเรขาคณิต, รูปร่างที่ประกอบด้วยเส้นตรงและเส้นโค้ง เช่น วงกลม ครึ่งวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ห้าเหลี่ยม เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รูปทรง, ลักษณะภายนอกของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็น 3 มิติ คือ มีความกว้าง ความยาวและความสูง สามารถหาขนาดและปริมาตรได้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงอิสระ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รูปทรงเรขาคณิต, รูปทรงที่มีลักษณะเป็น 3 มิติ คือมีความกว้าง ความยาว และความสูง และสามารถใช้การคำนวณทางคณิตศาสตร์หาปริมาตรที่แน่นอนได้ ได้แก่ รูปทรงกลม รูปทรงกระบอก รูปทรงกรวย ลูกบาศก์ ปริซึม รูปพีระมิด เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไอโซเมอร์เรขาคณิต[การแพทย์]
มัชฌิมเรขาคณิต, ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต[การแพทย์]