รูปแบบการวัดวุฒิภาวะความสามารถในการทำงาน (ส่วนชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์)[TU Subject Heading]
แบบจำลองวุฒิภาวะความสามารถ (ส่วนชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์)[TU Subject Heading]
วุฒิภาวะทางอารมณ์[TU Subject Heading]
วุฒิภาวะ (จิตวิทยา)[TU Subject Heading]
ไทย. รัฐสภา. วุฒิสภา[TU Subject Heading]
สหรัฐอเมริกา. รัฐสภา. วุฒิสภา[TU Subject Heading]
กลุ่มวิสัยทัศน์เอเชีย-ยุโรป เป็นกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งจัดตั้งภายหลังจากการประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป (อาเซม) ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน เพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับอนาคตของกระบวนการอาเซม[การทูต]
ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ[การทูต]
ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการอาเซียนว่า ด้วยความ ร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก[การทูต]
คณะผู้ทรงคุณวุฒิระดับสูงว่าด้วยภัยคุกคาม ความท้าทายและการเปลี่ยนแปลง แต่งตั้งโดยนาย Kofi Annan เลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 16 คน มีนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายก - รัฐมนตรีเป็นประธาน[การทูต]
ทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิ[การทูต]
ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย[การทูต]
วุฒิภาวะทางอารมณ์[การแพทย์]
วุฒิภาวะ, Example:การบรรลุความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ด้วยความเจริญสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมของบุคคล ที่พัฒนาอย่างเต็มที่จนบรรลุถึงขั้นภาวะนั้น ๆ ตามศักยภาพของบุคคลแต่ละคน เรียบเรียงและขยายความจากพจนานุกรมศัพท์จิตวิทยาฉบับราชบัณฑิตยสถาน[สุขภาพจิต]
ความสับสน, สภาพการใช้สติสัมปะชัญญะ การรับรู้ หรือการคิด ที่ทำให้เกิดความลังเล ไม่แน่ใจ เกิดความไม่ชัดเจน ยุ่งเหยิง วุ่นวายของอารมณ์หรือความคิด จนแสดงออกทางกาย เช่น ประหม่้า กระวนกระวาย สั่น หรือแสดงให้เห็นถึงระดับวุฒิภาวะของบุคคลนั้น โดยเฉพาะเรื่องกาลเวลา สถานที่ แล[สุขภาพจิต]
เจริญไม่เต็มที่, เด็กไม่รู้จักโต, ไม่สมบูรณ์, ยังไม่ชัดเจน, ผู้ไม่บรรลุวุฒิภาวะ, เซลล์ตัวอ่อน, เด็กกว่าอายุ, เจริญยังไม่เต็มขั้น[การแพทย์]
การเจริญของจิตใจยังไม่บรรลุวุฒิภาวะ, พัฒนาการไม่สมวัย[การแพทย์]
วุฒิภาวะ, ระดับวุฒิภาวะ, ร่างกายโตเต็มที่, การเจริญเต็มวัย, สมบูรณ์เต็มที่, การเติบโตเป็นผู้ใหญ่, ความเจริญเต็มที่, การเจริญเติบโตเต็มขั้น, การเจริญเต็มขั้น, การพัฒนาการของร่างกาย, การเจริญเติบโต[การแพทย์]
การเพิ่มจำนวนหรือขนาดของเซลล์ต่างๆของร่างกาย, การเพิ่มจำนวนหรือขนาดของเซลต่างๆของร่างกาย, วุฒิภาวะทางร่างกาย[การแพทย์]
ทฤษฎีของวุฒิภาวะ[การแพทย์]
โตเต็มที่, แก่เพียงพอ, วุฒิภาวะ, เต็มที่, ครบอายุแล้ว, เจริญเพียงพอ[การแพทย์]
วุฒิภาวะทางอารมณ์, วุฒิภาวะ, วัยกลางคน, การเจริญเต็มที่, ความเจริญวัย[การแพทย์]
ระยะบรรลุวุฒิภาวะ[การแพทย์]
วุฒิภาวะทางร่างกาย[การแพทย์]