เอ็มบริโอ, สิ่งมีชีวิตในช่วงการพัฒนาระยะต้น (ภายในฟองใช่หรือในมดลูก) โดยเฉพาะอย่างยิ่งก่อนที่จะมีการพัฒนาเต็มที่ เป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและพัฒนาของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ อย่างมาก ในมนุษย์มักจะใช้เรียกระยะเจ็ดถึงแปดสัปดาห์แรกภายหลังการปฏิสนธิ (การผสมของไข่กับอสุจิ) หลังจากนั้น นิยมเรียกเป็น ฟีตัส (Fetus หรือ Foetus)[เทคโนโลยีชีวภาพ]
การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง (deformation) ของยางเป็นฟังก์ชันของเวลาภายใต้แรงกระทำคงที่ ยางที่มี creep ต่ำ แสดงถึงความยืดหยุ่น (elastic) ที่ค่อนข้างมากของยางนั้น[เทคโนโลยียาง]
ความสามารถของวัสดุในการกลับคืนสู่รูปร่างและมิติเดิมได้อย่างรวดเร็ว หลังจากการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและมิติเมื่อได้รับแรงกระทำและนำแรงนั้นออก[เทคโนโลยียาง]
ความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเฉพาะที่บริเวณพื้นผิว สามารถวัดได้โดยนำหัวกด (indentor) กดลงบนชิ้นทดสอบภายใต้สภาวะที่กำหนด ความลึกของการทะลุทะลวงของหัวกดจะสะท้อนถึงค่าความแข็ง สำหรับยางนิยมทดสอบด้วยเครื่อง Durometer แบบ Shore A ซึ่งมีหน่วยความแข็งเป็น Shore A (ISO 7619-1, ASTM D2240) หรือการทดสอบแบบ IRHD มีหน่วยความแข็งเป็น IRHD (ISO 48)[เทคโนโลยียาง]
พลังงานที่ผลิตภัณฑ์ยางสูญเสียไปต่อหนึ่งรอบของการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เมื่อผลิตภัณฑ์ยางนั้นมีการใช้งานในเชิงพลวัต (dynamic)[เทคโนโลยียาง]
ขั้นตอนหนึ่งของกลไกการผสมสารตัวเติมเข้าไปในยางแห้ง โดยจะเกิดจากการที่สารตัวเติมถูกรวมเข้าไปในเนื้อยางซึ่งเกิดผ่านกลไก 2 แบบ ได้แก่ กลไกที่หนึ่ง แรงเฉือนจะทำให้ยางเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ซึ่งทำให้ยางมีพื้นที่สัมผัสกับสารตัวเติมได้มากขึ้น เมื่อแรงเฉือนหมดไป ยางจะคลายตัวกลับคืนสู่สภาพที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและโอบล้อมเอาสาร ตัวเติมไว้ภายในยาง และกลไกที่สอง ยางชิ้นใหญ่ที่ได้รับแรงเฉือนสูงๆ จะเกิดการฉีกขาดจนได้ยางที่มีขนาดเล็กลง ซึ่งเหล่านี้จะเข้าไปโอบล้อมสารตัวเติมไว้ภายในยางเช่นกัน[เทคโนโลยียาง]
สารตัวเติมที่ใส่ลงไปในยางเพื่อเพิ่มความสามารถในการเปลี่ยนแปลงรูป ร่างได้ดียิ่งขึ้น ลดความแข็งเปราะ เพิ่มสมบัติการใช้งานที่อุณหภูมิต่ำได้ดีขึ้น[เทคโนโลยียาง]
ความอ่อนตัวเป็นสมบัติของยางดิบหรือยางผสมที่ยังไม่ได้วัลคาไนซ์ เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของโมเลกุลยาง ซึ่งแสดงถึงความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของยาง และองศาของการไหลของยางใต้สภาวะอุณหภูมิและแรงอัดที่กำหนด[เทคโนโลยียาง]
การวัดค่าพลาสติซิตี้ขึ้นกับความสูงของตัวอย่างทดสอบหลังเกิดการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างภายใต้สภาวะที่กำหนด เช่น แรงกด เวลา และอุณหภูมิ ค่าพลาสติซิตี้ของยางจะบอกถึงความนิ่มหรือแข็งของยางยางที่มีค่าพลาสติซิตี้ สูงคือยางแข็ง ยางที่มีค่าพลาสติซิตี้ต่ำคือยางนิ่ม ซึ่งค่าพลาสติซิตี้ของยางมีความสำคัญต่อการแปรรูปยาง เช่น บ่งถึงพลังงานที่ต้องใช้ในการแปรรูปยาง ยางนิ่มจะใช้พลังงานน้อยและจะรับสารเคมีเข้าไปในยางได้รวดเร็ว เป็นต้น[เทคโนโลยียาง]
การกระเด้งกระดอน หมายถึง ความสามารถในการกลับคืนสู่รูปร่างตั้งต้นได้อย่างรวดเร็วภายหลังจากที่ยาง เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างอย่างชั่วคราว[เทคโนโลยียาง]
ยางรีเคลมได้มาจากการนำเอาผลิตภัณฑ์ยางเก่าที่ใช้แล้ว เช่น ยางล้อรถยนต์ ยางในรถยนต์ หรือยางคงรูปที่เป็นของเสียซึ่งเกิดระหว่างกระบวนการผลิต มาผ่านกรรมวิธีโดยความร้อนและเคมี ยางจะเกิดการดีพอลิเมอไรซ์ (depolymerize) เปลี่ยนจากสภาพคงรูป (vulcanized) และมีความยืดหยุ่น (elasticity ) กลับคืนไปสู่สถานะแรกเริ่ม คือ ไม่มีความคงรูป (unvulcanised) และไม่มีความยืดหยุ่น (plasticity )* ได้เป็นยางรีเคลมที่มีลักษณะกึ่งของแข็งและของเหลว (paste-like ) ซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีก ปกติจะใช้ยางรีเคลมผสมกับยางธรรมชาติสำหรับผลิตผลิตภัณฑ์ที่ไม่คำนึงถึงความ แข็งแรงและความ ทนทานมากนัก *Plasticity คือ ความโน้มเอียงของวัสดุที่จะเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปอย่างถาวรเมื่อได้รับ แรงกระทำ[เทคโนโลยียาง]
เป็นเครื่องมือวัดสมบัติความทนต่อแรงดึงของยางคงรูป ซึ่งสมบัติความทนต่อแรงดึงเป็นสมบัติเชิงกลพื้นฐานที่โรงงานอุตสาหกรรมยาง ส่วนใหญ่นิยมใช้เป็นตัวกำหนดคุณภาพหรือสเปคของผลิตภัณฑ์ วิธีการวัด คือ จะให้แรงดึงกับชิ้นงานตัวอย่างจนกระทั่งชิ้นงานขาด วัดความทนต่อแรงดึงสูงสุด ณ จุดขาด (tensile strength) และสามารถระบุได้ว่าชิ้นงานเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างโดยยืดไปกี่ เปอร์เซ็นต์ (elongation at break) วิธีการวัดและชิ้นงานที่ใช้จะต้องทำตามมาตรฐานที่กำหนด เช่น ISO 37 หรือ ASTM D412[เทคโนโลยียาง]
สมบัติหยุ่นหนืด คือ พฤติกรรมการตอบสนองต่อความเค้นที่กระทำของวัสดุ เช่น พลาสติก ยาง เป็นต้น ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวจะแสดงสมบัติของแข็งที่ยืดหยุ่น (elastic) และของเหลวหนืด (viscous) โดยที่สมบัติทางด้านการเปลี่ยนแปลงรูปร่างดังกล่าวนี้ขึ้นอยู่กับเวลา อุณหภูมิ ความเค้น (stress) และอัตราความเครียด (strain rate)[เทคโนโลยียาง]
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างเป็นเซลล์บล๊าส, เปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ตัวอ่อน[การแพทย์]
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง[การแพทย์]
การเปลี่ยนแปลงรูปผลึก[การแพทย์]
การผิดรูป, การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง[การแพทย์]
วัสดุเสียรูปถาวร, การเปลี่ยนแปลงรูปภายใต้แรงนั้นๆแบบถาวร[การแพทย์]
การแตกหน่อ, การแตกตา, การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแบบหนึ่ง เกิดขึ้นโดยส่วนของเซลล์ หรือกลุ่มเซลล์เจริญยื่นออกมาจากลำตัวหรือลำต้นเดิม แล้วค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงรูปร่างจนคล้ายตัวเดิมหรือต้นเดิม จากนั้นจะเจริญขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุดสามารถจะดำรงชีวิตได้ด้วยตนเอง มักพบในสิ่งมีชีวิตชั้นต[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เมทามอร์โฟซิส, กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์บางชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะไปเป็นขั้น ๆ จากตัวอ่อนจน ถึงตัวโตเต็มวัย เช่น การเจริญเติบโตของตัวไหมซึ่งเปลี่ยนแปลงจากไข่เป็นหนอน (ตัวอ่อน) ดักแด้ และตัวโตเต็มวัยตามลำดับ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
พลาสติกเทอร์มอเซต, พลาสติกชนิดที่ใช้ในการอัดแบบขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โดยใช้ความร้อนและความดัน เมื่อเย็นลงจะแข็งตัวและไม่เปลี่ยนแปลงรูปทรงเมื่อถูกความร้อน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การแปลง (ทางเรขาคณิต), การเปลี่ยนแปลงรูป ๆ หนึ่ง โดยการเลื่อนขนาน การสะท้อน หรือการหมุน เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
วัตถุแข็งเกร็ง, วัตถุที่มีรูปทรงแน่นอน ระยะห่างระหว่างจุดต่าง ๆ บนวัตถุคงตัว และวัตถุไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างเมื่อเคลื่อนที่หรือมีแรงกระทำ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง, เมตามอร์โฟซิส, เมตามอร์โฟซีส, การเปลี่ยนรูปร่าง[การแพทย์]
การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง[การแพทย์]